English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
เอ้ | (adj.) important See also: significant Syn. สำคัญ |
เอ้ๆ แอ่นๆ | (v.) tarry See also: loiter, dawdle |
เอ้ๆ แอ่นๆ | (adv.) totteringly See also: unsteadily Syn. โงนเงน |
เอ็กซ์โป | (n.) expo |
เอ็ง | (pron.) you Syn. มึง, เธอ, แก |
เอ็ด | (n.) one Syn. หนึ่ง |
เอ็ด | (v.) scold Syn. ดุ, ดุด่า, เอ็ดตะโร |
เอ็ด | (adv.) loudly See also: noisily Syn. เอะอะ, อึกทึก, เอ็ดอึง Ops. เงียบสงบ |
เอ็ด | (v.) tell another Syn. แพร่งพราย |
เอ็ดตะโร | (adj.) clamorous |
เอ็ดตะโร | (v.) clamor See also: shout, scold noisily |
เอ็ดอึง | (adv.) loudly See also: noisily Syn. เอะอะ, อึกทึก Ops. เงียบสงบ |
เอ็ดอึง | (adv.) loudly See also: noisily Syn. อื้ออึง, ลั่น, โขมงโฉงเฉง Ops. เงียบ |
เอ็ดอึง | (adv.) boisterously See also: loudly, noisy, screechingly Syn. ทระหึง, อึงมี่, อึงอล Ops. เงียบ |
เอ็น | (n.) tendon See also: sinew |
เอ็นจีโอ | (n.) Non Government Organizations See also: NGOs Syn. องค์กรพัฒนาเอกชน |
เอ็นดู | (v.) be loving See also: be kind, be merciful Syn. ปรานี, เมตตา, รักใคร่ |
เอ็นบีเอ | (n.) National Basketball Association See also: NBA Syn. สมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ |
เอ็นยึด | (n.) ligament |
เอ็มดี | (n.) Managing Director See also: MD Syn. กรรมการผู้จัดการ |
เอ็มบริโอ | (n.) embryo |
เอ่ย | (v.) utter See also: pronounce, say, speak, mention, express, articulate Syn. เอื้อนเอ่ย |
เอ้ย | (int.) Gosh... See also: goodness me! (an exclamation expressing sudden surprise or sudden discovery) |
เอ่ยชื่อ | (v.) name See also: mention one by name, call someone by name Syn. บอกชื่อ, ขานชื่อ, ระบุชื่อ, แสดงชื่อ |
เอ่ยถึง | (v.) mention See also: talk about, speak of, refer to Syn. พูดถึง, กล่าวถึง |
เอ่ยปาก | (v.) (begin to) speak See also: say, talk Syn. พูด |
เอ่ยอ้าง | (v.) claim See also: profess |
เอ้อ | (int.) er See also: Well Syn. เออ |
เอ้อระเหย | (adv.) leisurely |
เอ้อระเหย | (v.) be at ease See also: be easygoing |
เอ่อล้น | (v.) overflow See also: flow over, be flooded, be overflowing, be brimming (with) Syn. เอ่อ, ล้น |
เอ่อล้น | (v.) overflow See also: flow over, be flooded, be overflowing, be brimming (with) Syn. เอ่อ, ล้น |
เอ้อเร้อ | (adv.) much See also: a lot |
เอ้อเร้อเอ้อเต่อ | (adv.) much See also: a lot Syn. เอ้อเร้อ |
เอ้อเร้อเอ้อเต่อ | (v.) be unresolved See also: be outstanding, be unfinished Syn. คาราคาซัง |
เอ้อเร้อเอ้อเต่อ | (adv.) leisurely Syn. ยืดยาด |
เอ๊ะ | (int.) Eh! |
เอ้เต | (adv.) comfortably See also: restfully |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
ms-dos | เอ็มเอสดอสย่อมาจากคำว่า Microsoft disk operating system เป็นชื่อระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่บริษัทไมโครซอฟต์เป็นผู้ผลิตขึ้น และได้พัฒนาให้ดีขึ้นอยู่เรื่อย ๆ จนปัจจุบันเป็นรุ่น (version) 6.21 แล้ว รุ่นใหม่นี้สามารถป้องกันไวรัสได้ถึงกว่า 8,000 ชนิด ไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม และเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เกือบทั้งหมดใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS นี้ (ระบบปฏิบัติการของบริษัทไอบีเอ็มเอง มีชื่อเรียกว่า IBM DOS แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่า MS-DOS) |
xmodem | เอ็กซ์โมเด็มหมายถึง เกณฑ์วิธี (protocol) ในการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็มที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งส่วนใหญ่จะผ่านทางสายโทรศัพท์ อันที่จริงแล้ว เอกซ์โมเด็มนั้น เป็นชื่อ โปรแกรมที่ใช้ในการส่งข้อมูล แต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปมักจะเรียกแฟ้มข้อมูลที่ส่งด้วยวิธีนี้ว่า เอ็กซ์โมเด็ม ซึ่งสามารถรับ/ส่งข้อมูลได้ทั้งแฟ้มข้อมูลที่เป็นโปรแกรม และแฟ้ม เอกสารธรรมดา นอกจากนั้น ในระหว่างการส่งจะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนด้วย การถ่ายโอนข้อมูลแบบที่เรียกว่า YMODEM และ ZMODEM ก็ได้รับการพัฒนามาจาก XMODEM นี้ แต่ทำได้เร็วกว่า และถ่ายโอนข้อมูลได้ทีละมากกว่า |
ab | (ออบ) n. เดือนที่สิบเอ็ดของปฏิทินยิว abbr. antibody,abortion |
achilles tendon anat. | เส้นเอ็นที่เชื่อมระหว่างกล้ามเนื้อน่องกับกระดูกส้นเท้า |
advanced technology | เทคโนโลยีก้าวหน้าใช้ตัวย่อว่า AT หมายถึงคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่นหนึ่งที่ใช้บัสชนิด 16 บิต แทนแผ่นวงจร 8 บิตที่ใช้ก่อนหน้านั้น ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว |
albumose | (แอล' บูโมส) n. lารประกอบที่ได้จากโปรตีนโดยฤทธิ์ของเอ็นไซม์ (derived from proteins) |
appletalk | (แอปเปิลทอล์ค) ในปัจจุบัน มีการนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาใช้ร่วมกัน เพื่อทำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่เรียกว่า "ข่ายงาน" (network) การทำเช่นนี้จำเป็นจะ ต้องมีระบบประสานการใช้เครื่อง แอปเปิล ทอล์คนั้น ทำหน้าที่นี้ แต่ใช้สำหรับทำให้นำเครื่องแอปเปิลแมคอินทอชและเครื่องไอบีเอ็ม พีซีซึ่งมีระบบปฏิบัติการต่างกันมาใช้ร่วมกันในข่ายงานเดียวกันได้ เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุกเครื่องจะมีช่องต่อออก สำหรับแอปเปิลทอลค์ แต่ไอบีเอ็มพีซียังไม่มี ดู network ประกอบ |
altair | (แอล' แทร) 1. ชื่อดาวขนาดใหญ่ในกลุ่มดาว Aquilla (a fires-magnitude star) 2. เป็นยี่ห้อของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ หรือพีซี (personal computer) รุ่นแรก ๆ ยี่ห้อหนึ่ง โด่งดังมาก่อนเครื่องยี่ห้อแอปเปิล (Apple) หรือ ไอบีเอ็ม (IBM) |
amylase | (แอม' มิเลส) n. เอ็นไซม์ย่อมแป้งชนิดหนึ่ง |
amylopsin | (แอมมิลพ' ซิน) n. เอ็นไซม์ของน้ำย่อยตับอ่อน มันสามารถเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล |
angiocardiography | (แอนจิโอคาดิออก' กระพี) n. การถ่ายเอ็กซเรย์หัวใจ และหลอดเลือดหัวใจหลังฉีดสารทึบแสง |
apoenzyme | (แอพโพเอน'ไซม) n. ส่วนประกอบโปรตีนร่วมกับ coenzyme เป็นเอ็นไซม์ที่สมบูรณ์ |
at | (เอที) เป็นคำย่อที่บริษัทไอบีเอ็มนำมาใช้แทนคำว่า advanced technology ซึ่งแปลว่า เทคโนโลยีขั้นสูงนั่นเอง เมื่อสมัยที่ไอบีเอ็มผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ชุดใหม่ที่ใช้ชิปหมายเลข 80286 ได้ตั้งชื่อคอมพิวเตอร์ที่ออกสู่ตลาดรุ่นนั้นว่า " IBM AT " |
autolysis | (ออทอส'ลิซิส) n. การสลายตัวของเนื้อเยื่อพืชหรือสัตว์โดยเอ็นไซม์ (enzyme) ที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อนั้น. -autolytic adj. |
atm. | abbr. 1. atmosphere, atmospheric 2. (เอทีเอ็ม) ย่อมาจาก automatic teller machine แปลว่า เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงิน ได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่ |
automatic teller machine | เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่ |
bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ |
binary code | รหัสฐานสองหมายถึง การใช้รหัสเลขฐานสองแทนตัวอักษร ตัวเลข และตัวอักขระ พิเศษต่าง ๆ โดยใช้เพียงเลข 0 และ 1 รหัสที่นิยมใช้กันอยู่มีหลายรหัสเช่น เอ็บซีดิก (EBCDIC) , แอสกี (ASCII) , บีซีดี (BCD) คอมพิวเตอร์ของแต่ละบริษัทจะเลือกใช้รหัสหนึ่งในการแทนข้อมูล |
bmp | (บีเอ็มพี) ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพหรือกราฟิกที่มีลักษณะเป็นจุดภาพ (pixel) เล็ก ๆ ที่เรียกว่าบิตแมป เช่น WINLOGO.BMP ดู bitmap ประกอบ |
bnc connector | ตัวเสียบบีเอ็นซี หมายถึง ส่วนปลายของสายเคเบิลที่เป็นโลหะที่จะต้องเสียบเข้าทางด้านหลังของเครื่องคอมพิวเตอร์ |
breathing | (บรีธ'ธิง) n. การหายใจ,กระบวนการหายใจ,การหายใจอึดหนึ่ง,การหยุดพักหายใจ,การเอ่ยคำ,ความปรารถนา,ชั่วแวบเดียว,การโชยพัดเบา |
catgut | (แค็ท'กัท) n. เอ็นเย็บบาดแผล |
cgm | (ซีจีเอ็ม) abbr. ย่อมาจาก computer graphics metafile เป็นระบบการเก็บภาพของคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm |
chord | (คอร์ด) n. สายเครื่องดนตรีดีดสี,สายซอ,เส้นตรงระหว่างจุด1จุดบนเส้นรอบวง,เอ็น,เส้น,ความรู้สึก,อารมณ์,เสียงที่คล้ายเส้นเชือก,เสียงประสาน vi. ประสาน,สัมผัส vt. ดีดสายให้เสียงสัมผัสกัน, See also: chordal adj. ดูchord |
common user access | การเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3,ตัวเลข100ของโรมัน,สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
cga | (ซีจีเอ) ย่อมาจาก color gragphic adapter แปลว่า ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิก ที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ๆ ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วอาจจะปวดศรีษะได้ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA ดู EGA และ VGA ประกอบ |
character code | รหัสอักขระหมายถึงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่กำหนดให้ใช้เป็นรหัสแทนอักขระ หรือมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่มีการตกลงกันไว้ เป็นต้นว่า ตารางรหัสแอสกี (ASCII table) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) โปรแกรมสำเร็จบางโปรแกรมใช้รหัสเหล่านี้ผสมกับตัวอักขระบางตัวเป็นรหัสคำสั่งให้เป็นการขีดเส้นใต้ , ทำตัวเอน ฯ |
cim | (ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) |
cp/m | (ซีพี/เอ็ม) ย่อมาจาก Control Program for Microcomputers เป็นชื่อโปรแกรมระบบที่เคยโด่งดังมากเมื่อสมัยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 8 บิต หรือเมื่อราวสิบปีก่อน |
clone | (โคลน) n. พวกสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์จากระบบไร้เพศ., See also: clonal adj. คอมพิวเตอร์เลียนแบบหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำเลียนแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อดัง ๆ ส่วนใหญ่จะมีราคาถูก โดยปกติ เขาแบ่งระดับขั้นของคอมพิวเตอร์กันดังนี้ คือ ถ้าเป็นระดับที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด ก็มีคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) แมคอินทอช (Macintosh) และคอมแพค (Compaq) ถัดลงมาอยู่ในระดับเทียบเคียงได้ (compatible) หมายถึง พวกที่มีชื่อ แต่โด่งดังน้อยกว่า เช่น เอ็ปซอน (Epson) ที่ขั้นต่ำสุดก็คือพวกที่ทำเลียนแบบในราคาถูก .....ถูกจนคนมักจะชอบเสี่ยงซื้อไปใช้ จึงจะเรียกว่า "clone" |
color graphic adapter | ตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA |
compatibility | ความเข้ากันได้ความใช้แทนกันได้การเทียบเคียงกันได้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่สามารถเทียบแทนกันได้กับอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เช่น ถ้าใช้ว่า "IBM Compat" ก็แปลความได้ว่าคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ยี่ห้อไอบีเอ็ม แต่ผลิตขึ้นมาด้วยมาตรฐานเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และสามารถนำมาใช้แทนเครื่องไอบีเอ็มได้ (หมายถึง ใช้โปรแกรมหรือคำสั่งต่าง ๆ ของไอบีเอ็มได้นั่นเอง) |
computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ |
computer output on microf | ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120,000 ตัวอักษรต่อวินาที |
cua | (ซียูเอ) ย่อมาจาก คำว่า Common User Access ซึ่งหมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
affecting | (adj) น่าสงสาร,น่าเอ็นดู,สะเทือนใจ |
bluster | (n) การตะคอก,เสียงเอ็ดตะโร,เสียงคำราม |
childlike | (adj) เหมือนเด็ก,น่ารัก,น่าเอ็นดู,ไร้เดียงสา |
chord | (n) สายพิณ,สายซอ,เอ็น,เสียงประสาน |
clamorous | (adj) กึกก้อง,ดัง,เอ็ดตะโร,อลหม่าน |
clamour | (n) เสียงโห่ร้อง,เสียงเอ็ดตะโร,เสียงอึกทึกครึกโครม |
eleven | (adj) สิบเอ็ด |
eleventh | (adj) ที่สิบเอ็ด |
engaging | (adj) น่ารัก,น่าเอ็นดู,ถูกใจ,ต้องตาต้องใจ,ติดอกติดใจ |
ferment | (n) เชื้อหมัก,ผงฟู,ความสับสนอลหม่าน,เอ็นไซม์ |
gut | (n) ไส้,เอ็น,เครื่องใน,กระเพาะอาหาร,ช่องแคบ |
knockout | (n) การน๊อกเอ๊าท์,การประสบความสำเร็จ |
ligament | (n) เอ็น |
linger | (vi) รีรอ,อ้อยอิ่ง,ชักช้า,เอ้อระเหย |
loiter | (vi) อ้อยอิ่ง,เถลไถล,เชือนแช,เอ้อระเหย |
mouse | (n) หนู,คนน่าเอ็นดู,คนขี้อาย |
nerve | (n) เส้นประสาท,เส้นเอ็น,กำลัง,ความกล้าหาญ |
overflow | (n) การท่วม,การนอง,การไหลบ่า,การเอ่อล้น |
quaint | (adj) น่าเอ็นดู,กระจุ๋มกระจิ๋ม,แปลกตา,ประหลาด |
saunter | (vi) เดินทอดน่อง,เดินเล่น,เดินเตร่,เดินเอ้อระเหย |
sinew | (n) กล้ามเนื้อ,เอ็น,แก่น,ความแข็งแรง,กำลังวังชา,อำนาจ |
sinewy | (adj) ทรหด,แข็งแรง,มีกำลังวังชา,เหนียว,คล้ายเอ็น |
tendon | (n) เอ็น |
tissue | (n) ใย,เนื้อเยื่อ,เอ็น,มัน,พังผืด,ฝ้า,เนื้อผ้า,กระดาษทิชชู |
vociferous | (adj) เอ็ดตะโร,เอะอะ,โวยวาย,หนวกหู |
whimper | (vi) ร้องเอ๋ง,ครางหงิงๆ,ร้องไห้กระซิกๆ |
yell | (n) การตะโกน,การโห่ร้อง,การแผดเสียง,การเอ็ดตะโร |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
catgut | เอ็นเย็บแผล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ectoderm | เอ็กโทเดิร์ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
embryo | เอ็มบริโอ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ligament | เอ็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
MAT (machine-aided translation) | เอ็มเอที (การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย) [มีความหมายเหมือนกับ computer-aided translation (CAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MCA (Micro Channel architecture) | เอ็มซีเอ (สถาปัตยกรรมไมโครแชนเนล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MF (medium frequency) | เอ็มเอฟ (ความถี่ปานกลาง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
MICR (magnetic ink character reader) | เอ็มไอซีอาร์ (เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MIS (management information system) | เอ็มไอเอส (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MON (motor octane number) | เอ็มโอเอ็น (เลขออกเทนเครื่องยนต์) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
MPEG (Motion Picture Experts Group) | เอ็มเพ็ก (กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาพยนตร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MRA (magnetic resonance angiography) | เอ็มอาร์เอ (ภาพเอ็มอาร์หลอดเลือด) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
MSI (medium scale integration) | เอ็มเอสไอ (วงจรรวมความจุปานกลาง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
NTSC (National Television Standards Committee) | เอ็นทีเอสซี (คณะกรรมการระบบโทรทัศน์แห่งชาติ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
NLQ (near letter quality) | เอ็นแอลคิว (คุณภาพเกือบคมชัด) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sinew; tendon | เอ็นกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tendon | เอ็นกล้ามเนื้อ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
tenonitis; tendinitis; tenontitis; tenositis | เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
A.M. (arithmetic mean) | เอเอ็ม (มัชฌิมเลขคณิต) [มีความหมายเหมือนกับ arithmetic average] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
Achilles jerk; jerk, ankle | การกระตุกเหตุเคาะเอ็นร้อยหวาย [มีความหมายเหมือนกับ reflex, ankle] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
AM (amplitude modulation) | เอเอ็ม (การกล้ำแอมพลิจูด) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ANS (anterior nasal spine) | เอเอ็นเอส (เงี่ยงกระดูกจมูกส่วนหน้า) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
automatic teller machine (ATM) | เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (เอทีเอ็ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
autonomic nervous system (ANS) | ระบบประสาทอิสระ (เอเอ็นเอส) [มีความหมายเหมือนกับ system, vegetative nervous] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bmep (brake mean effective pressure) | บีเอ็มอีพี (ความดันประสิทธิผลเฉลี่ยสำหรับแรงม้าเพลา) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
BNF (Backus normal form) | บีเอ็นเอฟ (รูปแบบบรรทัดฐานแบกคัส) [มีความหมายเหมือนกับ BNF (Backus-Naur form)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
celom; coelom | โพรง (เอ็มบริโอ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
central nervous system (CNS) | ระบบประสาทกลาง (ซีเอ็นเอส) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CIM (computer input from microfilm) | ซีไอเอ็ม (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CMIP (Common Management Information Protocol) | ซีเอ็มไอพี (เกณฑ์วิธีจัดการสารสนเทศร่วม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CNC (computerized numerical control) | ซีเอ็นซี (การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CNS (system, central nervous) | ซีเอ็นเอส (ระบบประสาทกลาง) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
coelom; celom | โพรง (เอ็มบริโอ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Common Management Information Protocol (CMIP) | เกณฑ์วิธีจัดการสารสนเทศร่วม (ซีเอ็มไอพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
COM (computer output on microfilm) | ซีโอเอ็ม, คอม (ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computerized numerical control (CNC) | การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
database management system (DBMS) | ระบบจัดการฐานข้อมูล (ดีบีเอ็มเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
DBMS (database management system) | ดีบีเอ็มเอส (ระบบจัดการฐานข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
deoxyribonucleic acid (DNA) | กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (ดีเอ็นเอ) [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
DMA (direct memory access) | ดีเอ็มเอ (การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Acetyl-Co A Synthetase | เอ็นไซม์อะเซธิลโคเอซินเธเทส [การแพทย์] |
Acetylcholinesterase | เอ็มไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส, อะเซทิลโคลิเนสเทอเรส, อาซีติลคอลีนเอสเทอเรส, อะซีติลโคลีนเอสเตอเรส, เอนไซม์, อะซีติย์ลโคลีนเอสเตอเรส, น้ำย่อยเซทีลโคลีนเอสเทอเรส, เอ็นซัยม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส [การแพทย์] |
Achilles Tendon | เอ็นร้อยหวาย, เอ็นอะคิลลิส, กลุ่มของกล้ามเนื้อเอ็นร้อยหวาย [การแพทย์] |
Aldose Reductase | เอ็นชายม์อัลโดสรีดัคเตส [การแพทย์] |
Anterior cruciate ligament | เอ็นไขว้หน้าข้อเข่า [TU Subject Heading] |
Aponeurosis | เอ็นแผ่ของกล้ามเนื้อ, เยื่อบาง, แผ่นพังผืด, เอ็นแผ่ [การแพทย์] |
Capsule of Joint | เอ็นหุ้มข้อ [การแพทย์] |
Catgut | เอ็น,ไหมละลาย [การแพทย์] |
Chick Embryo | เอ็มบริย์โอไก่,เอ็มบริโอไก่,ตัวอ่อนของไก่ [การแพทย์] |
Ectomorph | เอ็คโตมอร์ฟ [การแพทย์] |
Eczema | เอ็กซีมา [TU Subject Heading] |
Endoplasmic Reticulum | เอ็นโดพลาสมิกเรติคุลัม,เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม,เซลล์,เอนโดพลาสมิคเรติคิวลัม,เอ็นโดพลาสมิคเรติคูลัม,เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม,เอนโดพลาสมิคเรติคคิวลั่ม,เอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม,เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม,ร่างแหเอนโดพลาสมิค,เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม [การแพทย์] |
Endrin | เอ็นดริน สารอันตรายในกลุ่มออร์กาโนคลอรีน ใช้ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากมีพิษรุนแรงและตกค้างในสิ่งแวดล้อม จึงห้ามนำเข้าตั้งแต่ ปี 2524 เป็นต้นมา [สิ่งแวดล้อม] |
Entamoeba | เอ็นตะมีบา,เอนตะมีบา,เชื้อ,เอ็นตามีบา [การแพทย์] |
Ethyl Acetate | เอ็ลทิลอาซีเตท [การแพทย์] |
Exergonic | เอ็กเซอร์โกนิค [การแพทย์] |
Filum Terminale | เอ็นยึดปลายล่างไขสันหลัง,ไฟลัมเทอร์มินาเล [การแพทย์] |
Ligaments | เอ็นยึด [TU Subject Heading] |
Lyases | เอ็นซัยมลัยเอส, ไลเอส [การแพทย์] |
Microsoft Disk Operating System | เอ็มเอส ดอส ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์จากค่ายไมโครซอฟต์ [คอมพิวเตอร์] |
MP 3 (Audio coding standard) | เอ็มพี 3 (มาตรฐานรหัสเสียง) [TU Subject Heading] |
MS-DOS (Computer file) | เอ็มเอส-ดอส (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Tendon injuries | เอ็นยึดบาดเจ็บ [TU Subject Heading] |
Accessory Nerve | ประสาทสมองเส้นที่ 11, ประสาทสมองคู่ที่ 11, ประสาทแอกเซสซอรี, ประสาทแอกเซสซอรีย์, เส้นประสาทช่วย, ประสาทสมองที่สิบเอ็ด, ประสาทที่ 11 [การแพทย์] |
Acetylcholine | อะเซติลโคลีน; อเซตีลโคลีน; อเซททีลโคลีน; อะเศติลโฆลีน; อะซีติลโคลีน, สาร; อะซีติย์ลโคลีน; อะเซทิลโคลีน; อะเซทีลโคลีน; แอซีติลโคลีน; เอ็นซัยม์อะเซทิลโคลีน; อเซทิลโคลีน [การแพทย์] |
Advancement | ความก้าวหน้า, การย้ายที่เกาะของกล้ามเนื้อหรือเอ็นให้ไกลออกไป [การแพทย์] |
AM | เอเอ็ม, ดู amplitude modulation [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Apoenzymes | อะโปเอ็นไซม์, อโปเอ็นไซม์, อะโปเอนไซม์, อโพเอนไซม์ [การแพทย์] |
Asparaginase | แอสปาราจิเนส, เอนไซม์, เอ็นซัยม์แอสพาราจิเนส [การแพทย์] |
Baker Procedure | วิธีผ่าตัดย้ายเอ็นกระดูกสะบ้า [การแพทย์] |
BMW automobiles | รถยนต์บีเอ็มดับบลิว [TU Subject Heading] |
Clone | โคลน , วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้สร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเป็นดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตก็ได้ นอกจากนี้ยังอาจหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการดังกล่าวได้อีกด้วย คำว่า โคลน มีที่มาจากคำในภาษากรีกที่แปลง่า กิ่งก้าน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
companion cell | คอมพาเนียนเซลล์, เซลล์พวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Bookplate | บรรณสิทธิ์ (หมายถึง ป้ายหรือตราประจำตัวของเจ้าของหนังสือ)Bookplates เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์บอกประวัติการครอบครองหนังสือ คำว่า Bookplates นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ส่วนประเทศอื่นๆ ในยุโรปจะเรียกว่า เอ็กซ์ ลิบรีส์ (ex libris) ในภาษาละติน แปลว่า "จากห้องสมุดของ..." แล้วต่อด้วยอักษรย่อชื่อ ตราประจำตัว หรือตราประจำตระกูลของผู้เป็นเจ้าของหนังสือ |
Chromosome | โครโมโซมดีเอ็นเอของคนซึ่งประกอบด้วยยีนจำนวนมากซึ่งกำหนดลักษณะที่แสดงออก มีความยาวมากถ้าเอามาทำเป็นเส้นตรงจะมีความยาวมากกว่าเซลล์ ดังนั้นจะต้องมีวิธีบรรจุดีเอ็นเอทั้งหมดเข้าไปในเซลล์ วิธีที่ใช้คือให้เดีเอ็นเอซึ่งมีประจุลบเนื่องจากมีหมู่ฟอสเฟตยื่นออกมาโดยรอบทบกันไปมา แต่เนื่องจากประจุลบนั้นผลักกันเอง ทำให้เซลล์ต้องใช้โปรตีนที่มีประจุบวกเรียกว่า histone มาเป็นแกนกลางในการพันทบกัน ซึ่งดีเอ็นเอจะพันทบกันไปมาหลายชั้นอย่างแน่นมากจนได้เป็นแท่งของดีเอ็นเอที่มีขนาดพอที่จะบรรจุในเซลล์เรียกว่า โครโมโซม |
CP/M (Computer operating system) | ซีพี/เอ็ม (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] |
dicotyledon [dicot] | พืชใบเลี้ยงคู่, พืชที่มีใบเลี้ยง 2 ใบในระยะเอ็มบริโอ เป็นพืชที่มีลำต้นไม่เป็นปล้อง เส้นใบเป็นร่างแห กลุ่มท่อลำเลียงเป็นระเบียบ มีระบบรากแก้ว เช่น ถั่ว มะขาม มะม่วง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
DNA | ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid)ดีเอ็นเอ มีชื่อเต็มคือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) มีหน้าที่เป็นที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต มี 2 กระบวนการเข้ามาเกี่ยวข้องในการทำหน้าที่ของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้มีการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ไปยังรุ่นลูก คือ |
dormancy | สภาพพักตัว, สภาพที่เอ็มบริโอของพืชชะงักการเจริญระยะหนึ่ง แต่ยังมีชีวิตอยู่ เมื่อภาวะแวดล้อมเหมาะสมก็จะเจริญต่อไปได้อีก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Electroencephalogram | การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง,เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง,คลื่นไฟฟ้าสมอง,คลื่นไฟฟ้าในสมอง,อิเลคโตรเอนเซฟาโลแกรม,การตรวจคลื่นสมอง,อีเล็คโตรเอ็นเซฟฟาโลแกรม,การตรวจคลื่นสมองด้วยไฟฟ้า [การแพทย์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ligament | (n.) เอ็น See also: เส้นเอ็น |
catgut | (n.) เอ็นที่ทำจากไส้แกะใช้ในเครื่องดนตรีประเภทสาย Syn. gut |
Achilles tendon | (n.) เอ็นร้อยหวาย |
hamstring | (n.) เอ็นร้อยหวาย |
drop the name of someone | (idm.) เอ่ยชื่อคนสำคัญหรือมีชื่อเสียงอย่างสนิทสนม |
bring up | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดถึง, แนะนำ Syn. come up, fling up, raise with, sling up, throw up |
come up | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดถึง, แนะนำ Syn. fling up, raise with, sling up, throw up |
go into | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดถึง |
make mention of | (idm.) เอ่ยถึง |
mention in | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดถึง |
mention to | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดเกี่ยวกับ |
speak of | (phrv.) เอ่ยถึง See also: พูดถึง, พูดเกี่ยวกับ Syn. talk about |
talk of | (phrv.) เอ่ยถึง Syn. talk about |
rake over old ashes | (idm.) เอ่ยถึงช่วงเวลาแห่งความสุขในอดีต |
mention something in passing | (idm.) เอ่ยถึงบางสิ่งอย่างน่าเป็นไปได้ |
make play with | (idm.) เอ่ยถึงบางสิ่งเพื่อให้เกิดผลบางอย่าง |
drop a brick | (idm.) เอ่ยถึงสิ่งที่ทำให้อับอาย (คำไม่เป็นทางการ) |
drop a clanger | (idm.) เอ่ยถึงสิ่งที่ทำให้อับอาย (คำไม่เป็นทางการ) |
fetch up | (phrv.) เอ่ยถึงอดีตหรือสิ่งที่ไม่น่าพอใจ Syn. drag up |
refer back to | (phrv.) เอ่ยถึงอีก See also: เตือนให้นึกถึง |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
Well, I must say you have such good taste in… | เอ่อ ฉันคงต้องบอกว่าคุณช่างมีรสนิยมดีในเรื่อง... |
Here, eat this | เอ้านี่ ทานนี่ คุณจะรู้สึกดีขึ้น |
Well, what are you all waiting for? | เอ่อ พวกคุณทั้งหมดนี้กำลังรออะไรอยู่หรือ? |
Well, I sometime watch it in the evening | เอ่อ บางครั้งฉันก็ดู TV ในตอนเย็น |
Well, there are good arguments on both sides | เอ่อ! นั่นก็เป็นข้อถกเถียงที่ดีทั้งสองฝ่าย |
Well, I'm afraid it isn't up to me | เอ่อ ฉันเกรงว่ามันไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ฉันนะ |
Here | เอ้านี่ ฉันมีของที่ระลึกมาฝากคุณ |
I decided not to say another word all evening | ฉันตัดสินใจที่จะไม่เอ่ยสิ่งใดตลอดเย็นนี้ |
He mentioned to you several times | เขาเอ่ยถึงคุณตั้งหลายครั้ง |
If I got out, I'd never mention what happens here | ถ้าฉันได้ออกไปข้างนอก ฉันจะไม่เอ่ยถึงสิ่งที่เกิดขึ้นที่นี่เลย |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
This is not junk, eh? | นี่ไม่ใช่ขยะนะ เอ๋ ? |
Lose something? | อะไรหายป่าว .. เอ๋ .. |
She has a very real boyfriend,and,well,after coraline... | เธอมีแฟนตัวจริงอยู่แล้ว และ เอ่ หลังจากโคราลีน |
Welcome. Ehh, 2 customers. | ยินดีต้อนรับครับ เอ๋ ลูกค้า 2 ท่าน |
Alright... alright... | คังเอ หมู่นี้เธอเป็นอะไร น่ารำคาญเป็นบ้า เอ๋ น่ารำคาญเหรอ เอาล่ะๆ |
What? No, no, no. Hey, I never-- | อะไร ไม่ ไม่ไ ม่ เอ้ ผมไม่ |
Eh? .. Religion? | ศาสนาอะไร เอ๋ ศาสนางั้นเหรอ |
Dad, hey, hey, hey, hang on! Hang on! | พ่อ เฮ้ เอ้ เดี๋ยวก่อน เดี๋ยวก่อน |
Hey. Hey, Brat. That... | เฮ้ เอ็ แบร็ม นั้นมัน |
Hey, hey, hey. Okay, both of you. | เฮ้ เอ้ เฮ้ พอได้แล้วทั้งคู่ |
Because I-I just read | เพราำำะฉัน เอ้ เพิ่งจะอ่านเจอ |
Hey, good news. | ที่ถูกทิ้งโดยผู้ชายพวกนั้น เอ้ ข่าวดี |
Something difficult to decipher, but uh... | บางอย่างที่มันยากจะแปลความหมาย แต่ เอ่ อ.ง |
Aah, that's your guilt talking. | เอ้ กำลังพูดถึงความผิดของนายต่างหาก |
# Uh, what you see, what you see, bruh? # | เอ้ คูณเห็นอะไร คุณเห็นอะไรหรือเปล่า |
Hey, Janet, how you doing? | เอ้ จาเนท กำลังทำอะไรอยู่? |
You're too nice. | เอ๋ จิตใจดีอะไรอย่างนี้เนี่ย |
Eh... I'll walk home myself! Tohno-kun, you can go first. | เอ๋ ฉันกลับเองได้ โทโนะคุงไปก่อนเถอะ |
Gee, I wonder who that could be. | เอ้ ฉันสงสัยจัง ว่าใครจะเป็นคนนั้น |
Aigoo, I want to just... | เอ๊ ฉันแค่ต้องการ ... |
Eh, it's too bad he's anonymous. | เอ๊ ช่างแย่ที่เขาไม่ได้ระบุชื่อไว้ |
Why is it that no one... You're not going to go anywhere, are you Mommy? | เอ่ ทำไมไม่มีใคร... ...มาหาเราบ้างเลยเหรอ? คุณแม่จะไม่ไปไหนทั้งนั้น ใช่ไหมครับแม่? |
Hey, its Eve. I'm glad you called but I'm not here. | เอ้ นี่อีฟ ดีใจที่ โทรหา แต่ฉันไม่อยู่ |
Thank you. Look, please. | เอ้ นี่ไง \\ ขอโทษนะ |
Hey, b., what happened? | เอ้ บี เกิดอะไรขึ้น ? |
I wonder, did I leave it in the Jag? | เอ๋ ผมคงลืมไว้ในเสื้อหนาว |
Hey, I thought you said the U.S. government got by just fine for 200 years without the Intersect? | เอ๋ ผมคิดว่าคุณบอกว่ารัฐบาลสหรัฐฯ ทำงานมาได้ตั้ง 200 ปี โดยไม่ต้องมีอินเตอร์เซ็คนี่ |
I mean, Haven PD. Wuornos speaking. | เอ่ ผมหมายถึง เจ้าหน้าที่ โวนอส พูดสาย |
Opposite genders can't be friends. | เอ๋ ผู้ชายกับผู้หญิง เพื่อนรึยังไงกันนะ |
Hey, brother. Long time, no see. | เอ้ พี่ชาย ขอเวลาไม่นาน |
Now that I come to think of it, I forgot to ask him how long it takes to cross this swamp. | เอ้ พึ่งนึกอะไรบางอย่างออกนะ ว่าแม่น้ำนี้ต้องใช้เวลาข้ามนานเท่าไหร่ |
Hey. There's a step here. | เอ๋ มันมีที่เหยียบด้วย? |
Ah? Was it just destroyed and thrown away? | เอ๋ มันไม่ได้พังแล้วก็ถูกโยนทิ้งไปแล้วหรอ? |
Eh, six of one. | เอ่ มันไม่ได้แตกต่างกันเลยนะ |
Hey, welcome to... | เอ้ ยินดีต้อนรับสู่... |
And I'm sure you saw the, uh, sticky stuff on the leg of the victim, probably sent it off to the lab. | เอ่ ร่องรอย ที่ติดอยู่ที่ขาเหยื่อ ให้ดีควรส่งไปที่แล็บ |
Hey, you know what we need? | เอ้ รู้มั๊ยควรมีอะไร |
Hey, come here | เอ้ ลองมาทางนี้สิเพื่อน |
Eh, let's flag it for the M.E. | เอ้ ส่งเรื่องไปที่ M.E. ดีกว่า่ |
Eh? In what way? | เอ๋ หนักใจเรื่องอะไรเหรอครับ |