English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ลำดับ | (v.) arrange See also: put in order, organize, line up, order, position Syn. เรียงลำดับ |
ลำดับ | (n.) step See also: order, sequence |
ลำดับ | (n.) step See also: order, sequence |
ลำดับขั้น | (n.) procedure See also: order Syn. ลำดับชั้น |
ลำดับความสำคัญ | (n.) order of magnitude |
ลำดับชั้น | (n.) rank See also: order Syn. ระดับ, ขั้น, ลำดับขั้น |
ลำดับที่ | (n.) number Syn. เลข, เลขลำดับ |
ลำดับที่สอง | (n.) second |
ลำดับที่สาม | (n.) third |
ลำดับที่สี่ | (n.) fourth |
ลำดับที่หก | (n.) sixth |
ลำดับวิธี | (n.) algorithm |
ลำดับสูง-ต่ำ | (adv.) according to priority See also: in descending order, order of priority Syn. ลดหลั่น, ลำดับ |
ลำดับสูงสุด | (adj.) ultimate See also: elite |
ลำดับเบื้องต้น | (adj.) primary See also: first, elementary Syn. ปฐม, ลำดับแรก |
ลำดับแรก | (adj.) primary See also: first, elementary Syn. ปฐม, ลำดับเบื้องต้น |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน |
access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ |
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
array | (อะเรย์') n. ขบวน, ลำดับ,ทิว,แถว,เสื้อผ้า. -vt. นำมาเรียง, จัดเรียง,ตั้งแนวรบ,สวมใส่เสื้อผ้า -arrayal n., Syn. arrange,apparel) |
ascending order | เรียงลำดับขึ้นหมายถึง การเรียงลำดับจากต่ำไปหาสูง เช่น จาก 0 ถึง 100 หรือจาก A ถึง Z ตรงข้ามกับ descending order หรือเรียงลำดับลงดู descending order เปรียบเทียบ |
batch processing | การประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ |
bit string | สายบิตหมายถึง ลำดับของบิตที่เกี่ยวเนื่องกัน |
card sorter | เครื่องเรียงบัตร หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้สำหรับเรียงลำดับบัตรที่มีข้อมูลเจาะไว้แล้ว เครื่องนี้จะสามารถอ่านข้อมูลบนบัตรแล้วจัดการเรียงลำดับให้ เช่น ถ้าเป็นจำนวนเลข ก็จะเรียงจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย หรือถ้าเป็นตัวอักษร อาจเรียงตามลำดับตัวอักษรให้ก็ได้ |
categorise | (แคท'ทะกอไรซ) v {categorized,categorised,categorising,categorizing,categorizes,categorises} จัดเป็นหมวดหมู่,ลำดับขั้น,แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif |
categorize | (แคท'ทะกอไรซ) v {categorized,categorised,categorising,categorizing,categorizes,categorises} จัดเป็นหมวดหมู่,ลำดับขั้น,แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif |
category | (แคท'ทะกอรี) n. ประเภท,ลำดับขั้น,ปริมณฑล |
chronicle | (ครอน'นิเคิล) {chronicled,chronicling,chronicles} n. บันทึกเหตุการณ์เป็นลำดับเวลา,ประวัติศาสตร์,เหตุการณ์ประจำปี,จดหมายเหตุ,ชื่อหนังสือพิมพ์. vt. บันทึกเหตุการณ์, See also: chronicler n. |
chronologer | (คระนอล'ละจิสทฺ,-เจอะ) n. ผู้เชี่ยวชาญลำดับเหตุการณ์ก่อนหลัง |
binary coded decimal | เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001 |
capture | (แคพ'เชอะ) n. การจับได้,การยืดได้,สิ่งที่ถูกยึด,คนที่ถูกจับ,เชลย vt. จับได้,ยืดได้,เข้ายึดได้,ตีได้,ทำให้สนใจ,ทำให้หลงไหล, See also: capturer n. ดูcapture, Syn. take เก็บภาพจับภาพ (ข้อมูล) หมายถึง การสั่งเก็บภาพที่แสดงอยู่บนจอภาพทั้งหมด หรือ เฉพาะบางส่วนเอาไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช ใช้วิธีกดแป้น (Command) + Shift + 3 ภาพที่เกิดจะถูกนำไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลชื่อ Picture 1, Picture 2.... เรียงไปตามลำดับ ส่วนพีซี ใช้วิธีกดแป้น Print Screen ภาพที่อยู่บนจอจะถูกนำไปเก็บไว้ในคลิปบอร์ด (clipboard) เราอาจสั่งเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลได้โดยกำหนดชื่อให้เป็น ภาพ ๆ ไป แฟ้มเหล่านี้จะเรียกมาดูได้ในหลายโปรแกรม เป็นต้นว่า PageMaker, Microsoft Word อย่างไรก็ตาม หากจะเลือกเก็บเฉพาะบางส่วนของภาพที่ปรากฏบนจอ จะต้องใช้โปรแกรมพิเศษ |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
chronologic | adj. ตามลำดับเวลาวันเดือนปี,ตามลำดับเหตุการณ์ |
chronological | adj. ตามลำดับเวลาวันเดือนปี,ตามลำดับเหตุการณ์ |
chronologist | (คระนอล'ละจิสทฺ,-เจอะ) n. ผู้เชี่ยวชาญลำดับเหตุการณ์ก่อนหลัง |
chronology | (คระนอล'ละจี) n. วิชาลำดับวันเดือนปี |
co-ordinal | (โคออร์'ดิเนิล) adj. เกี่ยวกับลำดับเดียวกัน., Syn. co-ordinal |
collate | (โคเลท') {collated,collating,collates} vt. ตรวจเทียบ,ตรวจทาน,ตรวจปรู๊ฟ,ปรับให้เหมาะสม,ลำดับหน้า,เรียง,แต่งตั้งตำแหน่งทางศาสนาคริสต์ รวมแฟ้มเรียง1. หมายถึงการนำแฟ้มข้อมูลมาเรียงกัน2. เป็นคำสั่งพิมพ์เมื่อต้องการพิมพ์หลายชุด (ถ้าใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์) แต่ต้องการให้พิมพ์ให้เสร็จทีละชุด (แทนที่จะพิมพ์หน้าเดียวกันให้ครบจำนวนชุดที่ต้องการ) การพิมพ์แบบ collate จะใช้เวลาในการพิมพ์มากกว่า |
concrete poetry | n. โคลงกลอน ฉันท์ กาพย์ ที่ประพันธ์โดยวิธีจัดหรือลำดับคำเป็นแบบแผน แทนที่จะเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิม |
consecution | (คอนซิคิว'เชิน) n. การต่อเนื่องกัน,การเป็นไปตามลำดับ,การต่อเนื่องกันของเหตุผล |
consecutive | (คันเซค'คิวทิฟว) adj. ซึ่งต่อเนื่องกัน,ซึ่งตามกันมา,เป็นลำดับ, See also: consecutiveness n. ดูconsecutive, Syn. sequential ###A. interrupted |
continuum | (คันทีน'นิวอัม) n. ส่วนหรืออนุกรมหรือลำดับที่ต่อเนื่อง -pl. continua |
crescendo | (คริเซน'โด) n.,adj.การเพิ่มขึ้นเป็นลำดับของแรง,ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น |
crescent | (เครส'เซินทฺ) n. เสี้ยวพระจันทร์,ดวงจันทร์ครึ่งซีก,สัญลักษณ์ของตุรกีหรืออิสลาม,รูปพระจันทร์ครึ่งซีก,ศาสนาอิสลาม,บ้าน ถนนหรือสิ่งก่อสร้างที่เป็นรูปครึ่งวงกลม adj. เป็นรูปพระจันทร์ครึ่งซีก,เพิ่มหรือสูงขึ้นเป็นลำดับ, See also: crescentic adj. ดูcresc |
control statement | ข้อความสั่งควบคุมในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้น โดยปกติ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งไปทีละคำสั่ง โดยเรียงไปตามลำดับก่อนหลัง แต่เราอาจใช้ข้อความสั่งให้ควบคุมการทำงานได้เช่น กระโดดข้าม, วนกลับไปทำบางคำสั่งใหม่หรือวนหลาย ๆ รอบหรือหยุดทำถ้า ... ข้อความสั่งเหล่านี้มีอยู่หลายคำสั่ง ขึ้นอยู่กับภาษาเป็นต้นว่า GOTO, DO,IF ในภาษาฟอร์แทรน หรือ FOR.....NEXT ในภาษาเบสิก |
crescive | (เครส'ซิฟว) adj. ซึ่งเพิ่มขึ้นนเป็นลำดับ |
daisy chain | สายโซ่เดซีหมายถึง การเชื่อมต่อรายการต่าง ๆ เข้าด้วยกัน (เหมือนกับ สายโซ่) ถ้าใช้ในเรื่องของการสั่งพิมพ์ จะหมายถึง การสั่งให้พิมพ์แฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มต่อเนื่องกันไป ตามลำดับที่กำหนดไว้ตั้งแต่ก่อนพิมพ์ |
data structure | โครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น |
detailed flowchart | ผังงานละเอียดหมายถึงผังงานที่แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียด จนแทบจะนำแต่ละขั้นตอนมาถอดโยงกันเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมได้เลยดู program flowchart ประกอบ |
develop | (ดีเวล'เลิพ) {developed,developing,develops} vt. พัฒนา,ทำให้เจริญ,ทำให้ปรากฎชัดขึ้นมา,ล้างรูป,ค่อย ๆ ปรากฎชัดขึ้นมาตามลำดับ. vi. พัฒนา,วิวัฒนา, See also: developability n. ดูdevelop, Syn. mature |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
dozenth | (ดัซ'เซินธฺ) adj. ที่ 12,ลำดับที่ 12 |
drum printer | เครื่องพิมพ์แบบดรัมเป็นอุปกรณ์แสดงผลชนิดเครื่องพิมพ์ ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์แบบกดตัวพิมพ์ผ่านผ้าหมึกพิมพ์ ตัวพิมพ์จัดเรียงเป็นแถวบนพื้นผิวทรงกระบอกหมุนวนอยู่ตลอดเวลา การพิมพ์แบบนี้ จะพิมพ์ไปทีละตัว เช่นพิมพ์ตัว A ทุกตัวที่มีอยู่ในบรรทัดหนึ่ง ๆ เมื่อกดพิมพ์ตัว A หมุนผ่านช่องพิมพ์เสร็จแล้ว ก็จะพิมพ์ตัว B ต่อไปตามลำดับจนหมดตัวอักษร ซึ่งหมายถึงกระบอกตัวพิมพ์หมุนรอบตัวมันเองครบหนึ่งรอบ |
dvorak keyboard | แป้นพิมพ์ดีโวรักแป้นพิมพ์แบบพิเศษ ที่อ้างว่าจัดเรียงลำดับของแป้นอักษรและสัญลักษณ์ เพื่อให้ สะดวกในการใช้สอยสูงสุด แต่กลับมีคนรู้จักน้อยและไม่นิยมใช้กันเท่าใดนัก ดู Qwerty keyboard เปรียบเทียบ |
edit | (เอด,'ดิท) {edited,editing,edits} vt. เรียบเรียง,แก้ไข,ตัดตอน,ตัดย่อ,เป็นบรรณาธิการ,ลำดับเรื่อง,พิมพ์โฆษณา, Syn. correct,revise |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
category | (n) ประเภท,พวก,ชั้น,ลำดับชั้น |
chronological | (adj) ตามลำดับเหตุการณ์,กาลภาพ |
chronology | (n) การเรียงตามลำดับเหตุการณ์ |
collate | (vt) ตรวจทาน,ตรวจปรู๊ฟ,ตรวจเทียบ,เรียง,ลำดับหน้า |
consecutive | (adj) เป็นลำดับ,ติดต่อกัน,ซึ่งต่อเนื่องมา,ซึ่งตามกันมา |
correlate | (vi) นำมาคู่กัน,เทียบเคียง,ลำดับ,เรียง,เกี่ยวพันกัน |
edit | (vt) จัดการพิมพ์,เรียบเรียง,แก้ไข,ลำดับเรื่อง,ตัดต่อ |
genealogy | (n) ชาติวงศ์,กำพืด,การลำดับวงศ์ตระกูล |
gradation | (n) ลำดับชั้น,ชั้น,ขั้น,การแบ่งขั้น,การลำดับชั้น |
grade | (n) ชั้น,ลำดับ,ชนิด,ระดับ,ขีด,ขั้น |
shade | (n) ลำดับชั้นของสี,เฉด,มู่ลี่,ร่มเงา,ที่บังแดด,ผี,ปีศาจ |
hierarchy | (n) การปกครองระบอบเจ้าขุนมูลนาย,การปกครองเป็นลำดับชั้น |
itemize | (vt) ลำดับเรื่อง,แยกรายการ,ลงรายละเอียด |
ordinal | (adj) เกี่ยวกับลำดับ,เกี่ยวกับประเภท |
precedence | (n) การอยู่หน้า,ฐานันดร,การมีลำดับเหนือกว่า |
precedency | (n) การอยู่หน้า,ฐานันดร,การมีลำดับเหนือกว่า |
respective | (adj) ตามลำดับ,โดยเฉพาะ,ทุกๆ |
respectively | (adv) แต่ละ,ตามลำดับ,ทุกๆ |
sequence | (n) ลำดับเหตุการณ์,อันดับ,ขั้นตอน,การต่อเนื่อง,การเรียงลำดับ |
sequent | (adj) ซึ่งติดต่อกัน,ตามลำดับ,ซึ่งต่อเนื่องกัน |
series | (n) ชุด,ตอน,ลำดับ,อนุกรม,สิ่งที่ต่อเนื่องกัน |
successive | (adj) ตามหลัง,ตามลำดับ,ต่อเนื่อง |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
calendar | ลำดับเรื่อง (ในระเบียบวาระการประชุมสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chronology of permanent teeth | ลำดับเวลาฟันแท้ขึ้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
derivation sequence | ลำดับการแปลง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hierarchy | ลำดับชั้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
primary and secondary meanings of words | ลำดับความหมายหลักและความหมายรองของคำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
priority | ลำดับความสำคัญ, บุริมภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sequence | ลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
array | แถวลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
equal degree | ในลำดับเดียวกัน (ทายาท) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
grade | ชั้นเรียน, ลำดับชั้น, ชั้นคุณภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
hierarchical database | ฐานข้อมูลเชิงลำดับชั้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
historical calendar | ปฏิทินลำดับเหตุการณ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
incoherent | ขาดลำดับ, ไม่ปะติดปะต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
indexed sequential access method (ISAM) | วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี (ไอแซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ISAM (indexed sequential access method) | ไอแซม (วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
next devisee | ผู้รับพินัยกรรมลำดับถัดไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pari passu (L.) | มีสิทธิในลำดับเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PLA (programmable logic array) | พีแอลเอ (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
preference ordering | การจัดลำดับตามความนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
priority processing | การประมวลผลตามลำดับความสำคัญ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
rank | ๑. จัดลำดับ๒. ลำดับที่ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
roll call | การเรียกชื่อสมาชิกสภาตามลำดับรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
SAM (sequential access method) | แซม (วิธีเข้าถึงโดยลำดับ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
SECAM (sequential color and memory) | ซีแคม (ระบบโทรทัศน์แบบใช้สัญญาณสีเป็นลำดับและหน่วยความจำ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sequential access | การเข้าถึงโดยลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sequential access method (SAM) | วิธีเข้าถึงโดยลำดับ (แซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sequential file | แฟ้มลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sequential processing; serial processing | การประมวลผลแบบลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sifting committee | คณะกรรมาธิการจัดลำดับร่างกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sort | ๑. เรียงลำดับ, เลือกเข้ากลุ่ม๒. การเรียงลำดับ, การเลือกเข้ากลุ่ม [มีความหมายเหมือนกับ sorting] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sorter | ๑. โปรแกรมเรียงลำดับ, โปรแกรมเลือกเข้ากลุ่ม๒. เครื่องเรียงลำดับ, เครื่องเลือกเข้ากลุ่ม [มีความหมายเหมือนกับ card sorter] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
transilient | ข้ามลำดับ, ข้ามขั้น, ผ่านข้าม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
wraparound mortgage | การจำนองเพิ่ม, การจำนองลำดับหลัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Catena | ลำดับดิน ลำดับของดินที่เกิดจากวัตถุต้นกำเนิดและเกิดใน สภาพภูมิอากาศ ที่คล้ายคลึงกัน แต่ดินมีลักษณะต่างกัน เนื่องมาจากความแตกต่างกันในสภาพความสูงต่ำ ของพื้นที่ (relief)และสภาพของการระบายน้ำ(drainage) [สิ่งแวดล้อม] |
Chronology | ลำดับเหตุการณ์ [TU Subject Heading] |
convergent sequence | ลำดับลู่เข้า, ลำดับอนันต์ที่มีลิมิต เช่น 1, 1/2, 1/3,..., 1/n,....เป็นลำดับคอนเวอร์เจนต์มีลิมิตเท่ากับ 0 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
order | ลำดับ, อันดับ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Peat | ลำดับเบื้องต้นของกระบวนการเกิดถ่านหินซากพืชที่ยังไม่แข็งตัว สะสมในที่ลุ่มชื้นแฉะ จึงทำให้มีความชื้นสูง (อย่างน้อยร้อยละ 75) เนื้อเซลลูโลสของซากพืชต่างๆถูกแบคทีเรียและเชื้อราแปรสภาพเป็นอินทรียวัตถุและก๊าซมีเทน แต่ยัง ปรากฏลักษณะซากพืชต่างๆให้เห็นอยู่ภายในเนื้อ มีคาร์บอนประกอบอยู่ประมาณร้อยละ 60 และออกซิเจนประมาณร้อยละ 30 เมื่อแห้งจะติดไฟได้ดี [ปิโตรเลี่ยม] |
sequence | ลำดับ, จำนวนที่เรียงลำดับภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ลำดับ 1, 1/2, 1/3, ...,1/10 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Word order | ลำดับคำ [TU Subject Heading] |
Actinide series | อนุกรมแอกทิไนด์, กลุ่มธาตุในตารางพีริออดิก ตั้งแต่ลำดับที่ 89 แอกทิเนียม (actinium, Ac) จนถึงลำดับที่ 103 ลอว์เรนเซียม (lawrencium, Lr) รวม 15 ธาตุ ซึ่งเป็นธาตุกัมมันตรังสีทั้งสิ้น [นิวเคลียร์] |
Actinium sequence | อนุกรมแอกทิเนียม, กลุ่มนิวไคลด์ที่เกิดขึ้นตามลำดับจากการสลายของยูเรเนียม-235 นิวไคลด์สุดท้ายของอนุกรมนี้คือ ตะกั่ว-207 นิวไคลด์หลายชนิดที่มนุษย์ผลิตขึ้นก็มีการสลายตามอนุกรมนี้ [นิวเคลียร์] |
Algorithm | ขั้นตอนวิธีลำดับการแก้ปัญหาด้วยโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Arrangement | การจัดลำดับเนื้อเรื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Array | การเรียงลำดับค่าตัวเลข [การแพทย์] |
binomial coefficient | สัมประสิทธิ์ทวินาม, สัมประสิทธิ์ที่ปรากฏในแต่ละพจน์ของการกระจาย (a+b)n เช่น (a+b)2 = a2 + 2ab + b2 สัมประสิทธิ์ทวินาม คือ 1 , 2, 1 ซึ่งเป็นค่าคงตัวที่คูณอยู่กับ a2 , ab และ b2 ตามลำดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Botanical Garden | สวนพฤกษศาสตร์ เป็นพื้นที่คุ้มครองประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมพันธุ์ไม้ทุกชนิด ทั้งในและนอกประเทศที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ความสวยงามหรือที่หายากมาปลูกไว้เป็นลำดับตามหมวดหมู่ และตระกูล เพื่อการศึกษาวิจัยและการเผยแพร่ขยายพันธุ์ ให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชน และแก่ประเทศชาติต่อไป ในประเทศไทยมีอยู่ 5 แห่ง คือ สวนพฤกษศาสตร์พุแค จังหวัดสระบุรี สวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง จังหวัดตรัง [สิ่งแวดล้อม] |
Chronological arrangement | การจัดเนื้อเรื่องตามลำดับวันเดือนปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
cycle | รอบ,วง, วัฏจักร, ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและดำเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น รอบของการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา วงชีวิตของกบวัฏจักรของน้ำ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Edman Degradation | การเรียงลำดับของกรดอะมิโนโดยวิธีเอดมัน [การแพทย์] |
Fertile material | วัสดุเฟอร์ไทล์, วัสดุซึ่งสามารถแปลงให้เป็นวัสดุฟิสไซล์ได้ โดยการก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ วัสดุเฟอร์ไทล์ ได้แก่ ยูเรเนียม-238 และทอเรียม-232 ซึ่งเมื่อจับยึดนิวตรอนแล้วจะเปลี่ยนเป็นวัสดุฟิสไซล์ คือ พลูโทเนียม-239 และยูเรเนียม-233 ตามลำดับ [นิวเคลียร์] |
Catchword | คำนำทางคำนำทาง (Catchword) คือ คำหรือบางส่วนของคำที่พิมพ์เป็นตัวหนาหรือตัวพิมพ์ใหญ่ไว้ที่ด้านบนของคอลัมน์หรือของหน้าในพจนานุกรมหรือสารานุกรม โดยเป็นคำซ้ำกับคำที่ปรากฎเป็นคำแรกและ/หรือเป็นคำสุดท้ายในคอลัมน์หรือบนหน้ากระดาษ ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรนำทาง (Catch letters) แต่แทนที่จะเป็นตัวอักษร ก็ระบุคำนั้นทั้งคำในต้นฉบับตัวเขียนในยุคกลางและในยุคต้น ๆ ของการพิมพ์หนังสือ จะระบุคำหรือบางส่วนของคำที่ปรากฎที่ส่วนล่างของหน้าสุดท้ายของกระดาษที่พับเรียงกัน 1 ยก (ประกอบด้วยกระดาษ 24 แผ่น) และพิมพ์คำแรกที่ปรากฎในหน้าแรกของกระดาษในยกต่อไป ช่วยให้ผู้เย็บเล่มจัดเรียงลำดับหน้าหนังสือได้ถูกต้อง และเพื่อให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นเริ่มต้นด้วยคำใดสิ้นสุดด้วยคำใด บางทีในหนังสือสารานุกรมจะระบุคำนำทางไว้ในหน้าหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าหน้านั้นเป็นเรื่องใด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Close | ราคาปิดราคาของหลักทรัพย์ใด ๆ ที่เกิดจากการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เป็นรายการสุดท้ายของแต่ละวัน โดยระบบซื้อขายหลักทรัพย์จะหยุดจับคู่คำสั่งซื้อ/ขายอัตโนมัติ (Automated Order Matching หรือ AOM) ณ เวลา 16.30 น. แต่จะยังคงรับคำสั่งซื้อ/ขายจากบริษัทสมาชิกมาเรียงลำดับไว้ในระหว่าง 16.30-16.35 น. จากนั้นระบบคอมพิวเตอร์จะสุ่มเลือกเวลาปิดในช่วงระหว่าง 16.35-16.40 น. และนำคำสั่งซื้อ/ขายทั้งหมดที่ค้างในระบบจนถึงเวลาปิด มาคำนวณหาราคาปิดของแต่ละหลักทรัพย์ ด้วยวิธี Call Market ซึ่งมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ • ใช้ราคาที่ทำให้เกิดการซื้อขายได้ในปริมาณมากที่สุด • ถ้ามีราคาที่ทำให้เกิดปริมาณซื้อขายมากที่สุด มากกว่า 1 ราคา ให้ใช้ราคาที่ใกล้เคียงกับราคาซื้อขายครั้งสุดท้ายก่อนหน้านั้นมากที่สุด • ถ้ามีราคาที่ใกล้เคียงกับราคาซื้อขายครั้งสุดท้ายก่อนหน้านั้น มากกว่า 1 ราคา ให้ใช้ราคาที่สูงกว่าเป็นราคาปิด • ถ้าช่วงที่ใช้วิธี Call Market ไม่สามารถหาราคาปิดได้ (เนื่องจากการซื้อขายขาดสภาพคล่อง) ให้ใช้ราคาซื้อขายที่เกิดจากวิธี AOM ในลำดับก่อนหน้านั้นเป็นราคาปิด [ตลาดทุน] |
Directory | นามานุกรม, ทำเนียบนามDirectory หมายถึง นามานุกรม หรือ ทำเนียบนาม คือ หนังสือที่รวบรวมรายชื่อของบุคคล หน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การ และบริษัทต่าง ๆ จัดเรียงรายชื่อตามลำดับอักษรหรือตามลำดับหมวดหมู่ โดยให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่อยู่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ถ้าเป็นนามานุกรมที่รวบรวมรายชื่อบุคคลจะจะให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อ นามสกุล สถานที่อยู่ ตำแหน่งหน้าที่การงาน หมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นนามานุกรมหน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การจะจะระบุชื่อของผู้ที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน และให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ปีที่จัดตั้ง วัตถุประสงค์และหน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ พร้อมด้วยหมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นชื่อบริษัท ห้างร้าน จะบอกรายชื่อของสินค้าที่จัดจำหน่ายประเภทของผลิตผล รหัสที่ใช้ในการติดต่อทางโทรเลข รวมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
genus | จีนัส, สกุล, ลำดับหนึ่งในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต (ดู kingdom ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
geometric series | อนุกรมเรขาคณิต, อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Disconformity | รอยชั้นไม่ต่อเนื่องคงระดับ รอยชั้นไม่ต่อเนื่องที่มีระนาบชั้นหินที่อยู่ เหนือและใต้ รอยต่อมีแนวขนานกัน ซึ่งแสดงถึงการขาดช่วงในลำดับชั้น ของหินชั้น โดยทั่วไปช่วงที่ขาดตอนไปนั้น เกิดเนื่องจากการกร่อน หรือบางครั้งไม่มีการทับถม ปกติจะสังเกตเห็นได้จากรอยขรุขระ ของผิวของการกร่อน ซึ่งมีมากพอที่จะทำให้เห็นเป็นลักษณะสูง ๆ ต่ำ ๆ เช่น รอยชั้นไม่ต่อเนื่องที่หินชุดเก่ายังอยู่ในแนวนอนในช่วงที่มีการกร่อน หรือช่วงที่เปลือกโลกมีการแยกตัวและจมตัวลงโดยไม่เกิดการเอียงเทหรือเลื่อน เหลื่อม [สิ่งแวดล้อม] |
Gazetteer | อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายว่า หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อทางภูมิศาสตร์ในท้องถิ่นต่างๆ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร ทั้งนี้มีลักษณะคล้ายพจนานุกรม แต่เป็นการรวบรวมชื่อและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ต่างๆ เช่น ชื่อเมือง ชื่อภูเขา ชื่อแม่น้ำ ชื่อป่าไม้ หรือชื่อสถานที่สำคัญ ตลอดจนข้อมูลทั้งทางกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม การปกครอง และประวัติความเป็นมา และความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมภาพแผนที่ และภาพประกอบอื่นๆ |
Halobutyl rubber | ยาง XIIR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการทำปฏิกิริยาฮาโลจิเนชัน (Halogenation) ของยาง IIR กับก๊าซคลอรีน (Cl 2) หรือก๊าซโบรมีน (Br 2) ได้เป็นยางคลอโรบิวไทล์ (CIIR) หรือยางโบรโมบิวไทล์ (BIIR) ตามลำดับ ยางฮาโลบิวไทล์นี้มีปริมาณฮาโลเจนอยู่น้อยมากจึงไม่จัดอยู่ในพวกยางที่มี ขั้ว แต่ยางชนิดนี้คงรูปได้เร็ว มีระดับการคงรูปสูง และมีความต้านทานต่อการเกิด reversion ในระหว่างการคงรูปได้ดี ดังนั้นยางฮาโลบิวไทล์จึงสามารถใช้ผสมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติได้ดีและยังสามารถเกิดการคงรูปร่วมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ ได้ สมบัติของยางชนิดนี้โดยทั่วไปดีกว่ายาง IIR เล็กน้อย คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำกว่า มีความทนทานต่อโอโซน ความร้อน สภาพอากาศ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีกว่า แต่มี hysteresis สูงกว่า การใช้งานนิยมใช้ผลิตยางโอริงหรือปะเก็นยางชนิดที่ต้องทนต่อสารเคมี ท่อไอน้ำ ยางบุด้านในของยางล้อแบบไม่มียางใน สายพาน ยางบุต่างๆ และจุกปิดขวดยา เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Hierarchical notation | สัญลักษณ์ที่แสดงลำดับขั้นเป็นสัญลักษณ์ที่สะท้อนให้เห็นโครงสร้างการจัดหมู่ ซึ่งเป็นไปตามลำดับขั้นของการจัดแบ่งเนื้อหาวิชาจากหมวดใหญ่ไปจนถึงหมวดวิชาที่เฉพาะเจาะจง ได้แก่สัญลักษณ์ของระบบทศนิยมดิวอี้ |
kingdom | อาณาจักร, หมวดหมู่ใหญ่ที่สุดของสิ่งมีชีวิต เช่น อาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว์ อาณาจักรโพรทิสตา เป็นต้น แต่อาณาจักรจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยตามลำดับดังนี้คือ ไฟลัม(ในกรณีที่เป็นสัตว์) หรือ ดิวิชัน(ในกรณีที่เป็นพืช) คลาส ออร์เดอร์ แฟมิลี จีนัส สปีชีส์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
life cycle | วัฏจักรชีวิต, ลำดับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตในด้านการเจริญเติบโตตั้งแต่ไซโกตจนโตเต็มวัยและสืบพันธุ์ให้กำเนิดชีวิตรุ่นใหม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
metamorphosis | เมทามอร์โฟซิส, กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปเป็นขั้น ๆ จากตัวอ่อนจน ถึงตัวโตเต็มวัย เช่น การเจริญเติบโตของตัวไหมซึ่งเปลี่ยนแปลงจากไข่เป็นหนอน (ตัวอ่อน) ดักแด้ และตัวโตเต็มวัยตามลำดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Lake | ทะเลสาบ ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีพื้นที่และบริเวณน้ำมาก ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่สัมพันธ์กัน และมีการถ่ายทอด พลังงานในรูปของสารอาหารจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคตามลำดับ ทะเลสาบ เกิดขึ้นได้จากกระบวนการหลายอย่าง ได้แก่ เกิดจากการยกตัว ยุบตัว หรือการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจากการทำงานของภุเขาไฟ และเกิดจากการทำงานของธารน้ำแข็ง [สิ่งแวดล้อม] |
Novel | นวนิยายนวนิยาย มาจากภาษาอังกฤษว่า Novel และ Novella ในภาษาอิตาเลียน คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกเพื่อเรียกนวนิยายอย่างใหม่ของบอกาจิโอ (Boccaio) ที่แต่งเรื่อง เดคาเมรอน (Decameroa) ซึ่งแต่งขึ้นราว ค.ศ. 1338-1340 การที่เรื่องเดคาเมรอน ได้รับการกล่าวขวัญจากคนสมัยนั้นว่าเป็นนิยายแบบใหม่หรือนวนิยายนั้น เป็นเพราะบอกาจิโอ เริ่มใช้กลวิธีการเขียนตามแบบ นวนิยายในสมัยปัจจุบันกล่าวคือ เขียนเล่าเป็นเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ในแง่มุมต่างๆ อย่างสมจริง แต่ขณะเดียวกันก็ทำให้ผู้อ่านเห็นว่าเรื่องราวดังกล่าวในวรรณกรรมนั้นเป็น เรื่องสมมุติไม่ใช่เรื่องจริง นอกจากนี้ก็มีวิธีการเสนอเรื่องให้ยอกย้อนชวนติดตาม และมีแนวคิดกว้างขวาง มีลักษณะต่างไปจากการเขียนนิทานนิยายแต่เดิมที่มักสร้างเรื่องจากจินตนาการ และอุดมคติของผู้เขียน แต่ผู้เขียนกลับทำให้เรื่องที่อ่านนั้นดูเหมือนเป็นเรื่องจริง โดยอาศัยการเล่าเรื่องให้เป็นไปตามลำดับเหตุการณ์แล้วสะท้อนแนวคิดสำคัญของ เรื่องให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาของศาสนาเป็นต้น อย่างไรก็ตามเรื่องเดคาเมรอน ก็เป็นเรื่องต้นเค้าของการเขียนนวนิยายตะวันตกเท่านั้น ยังไม่ได้มีลักษณะเป็นนวนิยายอย่างในปัจจุบันอย่างแท้จริงนัก แต่ก็มีอิทธิพลต่อนักเขียนในยุคนั้นและยุคต่อมาด้วย เพราะหลังจากนี้เป็นต้นมา ก็มีการเขียนนวนิยายหรือเรื่องเล่าแบบใหม่ก็กลายเป็นรูปแบบวรรณกรรมอย่าง ใหม่ที่แพร่หลายไปทั่วยุโรป(สายทิพย์ นุกูลกิจ. 2537 : 171-172) นวนิยายตามแบบแผนเช่นปัจจุบันนี้เริ่มมีขึ้นเมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักประพันธ์นวนิยายที่แท้จริงคนแรกของอังกฤษ คือ แดเนียล เดอโฟ (Daniel Defoe) ซึ่งแต่งเรื่อง โรบินสัน ครูโซ (Robinson Crusoe) เมื่อ ค.ศ. 1719 |
Pagination | จำนวนหน้าลำดับเลขหน้า การนับเลขหน้าถึงแม้จะไม่มีข้อความต้องนับรวมด้วย การนับเริ่มเลขคี่อยู่ทางขวามือ เลขคู่อยู่ซ้ายมือตลอดเล่ม |
permutation | วิธีเรียงสับเปลี่ยน, การจัดเรียงลำดับสิ่งของโดยคำนึงถึงตำแหน่งของสิ่งของเป็นสำคัญ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
phylum | ไฟลัม, ลำดับหนึ่งในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต (ดู kingdom ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Precedence | การจัดลำดับอาวุโส [TU Subject Heading] |
Profile, Soil | หน้าตัดข้างของดิน ชั้นดินที่มีลักษณะปรากฏให้เห็นเรียงตามลำดับ เป็นช่วงชั้นจากชั้นบนสุดจนถึงชั้นล่างสุด ว่าแต่ละช่วงชั้นมีลักษณะอย่างไร หากขุดเป็นหลุมใหญ่ ลึกลงไปในดินที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติจะสามารถแลเห็นหน้าตัด ของดินได้จากปากหลุมลงไปจนถึงก้นหลุม [สิ่งแวดล้อม] |
Queuing theory | ทฤษฎีการคอยลำดับ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ranking and selection (Statistics) | การจัดลำดับและการคัดเลือก (สถิติ) [TU Subject Heading] |
procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
order | (n.) ลำดับ Syn. sequence, succession |
queue | (n.) ลำดับ See also: คิว |
sequence | (n.) ลำดับ See also: อนุกรม, อันดับ Syn. chain, string, series |
course | (n.) ลำดับของเหตุการณ์ |
chain of reasoning | (n.) ลำดับของเหตุผล Syn. logical sequence |
consecution | (n.) ลำดับของเหตุผล Syn. logical sequence, chain of reasoning |
logical sequence | (n.) ลำดับของเหตุผล Syn. chain of reasoning |
algorithm | (n.) ลำดับขั้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา |
word order | (n.) ลำดับคำในประโยค อนุประโยค หรือวลี See also: การเรียงลำดับของคำในประโยค อนุประโยค หรือวลี |
fourteenth | (n.) ลำดับที่ 14 |
twentieth | (n.) ลำดับที่ยี่สิบ |
second | (n.) ลำดับที่สอง See also: ที่สอง, คนที่สอง, ขั้นที่สอง, ครึ่งที่สอง, คุณภาพชั้นสอง, ส่วนที่สอง |
secondary | (adj.) ลำดับที่สอง See also: ที่สอง |
tertiary | (adj.) ลำดับที่สาม See also: ขั้นที่สาม |
thirtieth | (n.) ลำดับที่สามสิบ |
twelfth | (n.) ลำดับที่สิบสอง |
thirteenth | (n.) ลำดับที่สิบสาม |
sixteenth | (n.) ลำดับที่สิบหก |
fifteenth | (n.) ลำดับที่สิบห้า See also: อันที่สิบห้า |
fifteenth | (adj.) ลำดับที่สิบห้า See also: อันที่สิบห้า |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
It is a three step systematic attack on the entire national infrastructure. | มันเป็นการโจมตีระบบ 3 ลำดับ / โดยไม่ทำลายพื้นฐานโครงสร้างของประเทศ |
I think you're, like, seventh. | ก้ ประมาณว่า ลำดับ 7 น่ะ |
On my mark, initiate missile destruct sequence. | ตามคำนับของผม ลำดับ ขั้น ทำงายตัวเองของจรวด |
Launch sequence complete. | ลำดับการปล่อยเรียบร้อยแล้ว |
Rendering sequence is almost finished. Stand by. | ลำดับการแสดงผลเกือบจะเสร็จแล้ว ยืนอยู่ข้าง |
BroylES: A series of events has occurred. | ลำดับของเหตุการณ์ต่างๆ ได้เกิดขึ้น |
A series of events has occured. | ลำดับของเหตุการณ์ได้อุบัติขึ้น |
In order to remove hide. it's the exact same thing for eyeballs. | ลำดับขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อควักออกมา มันก็เหมือนกับการทำลูกตานั่นแหละ |
All kinds of birth records, family trees, newspaper clippings about me. | ลำดับครอบครัว ข่าวเรื่องของฉัน เขาบอกว่าเป็นของคุณ |
Our priority has to be winning this war. | ลำดับความสำคัญเร่งด่วนของเรา คือชัยชนะในสงครามนี้ |
That screws up the family tree. | ลำดับญาติกันมั่วแน่ๆ |
Next, the groom will be giving a message to everyone. | ลำดับต่อไป เชิญเจ้าบ่าวกล่าวอะไรเล็กน้อยกับผู้ที่มาร่วมงานครับ |
Secondly, while I'm here on active investigation, this division is under my purview. | ลำดับต่อไป,ช่วงเวลาที่ผมอยู่ที่นี่ในปฏิบัติการณ์สอบสวน หน่วยงานนี้อยู่ใต้ขอบเขตอำนาจของฉัน |
These next boys have just put out their first record called "Cry, Cry, Cry" | ลำดับต่อไปหนุ่มๆที่เพิ่งมี แผ่นเสียงแรก "คราย คราย คราย" |
Endless numerical sequences, lacking any pattern. | ลำดับตัวเลขไม่มีที่สิ้นสุด, ไร้รูปแบบใดๆ. |
Number 9 officer in police ranking | ลำดับที่ 9 ของออฟฟิศ |
Self-destruct sequence activated. | ลำดับที่ทำลายตัวเอง เปิดใช้งาน |
Second order of business... inducting new members into our ever-swelling ranks. | ลำดับที่สอง... การคัดเลือกสมาชิกใหม่ เข้ามาในสมาพันธ์อันยิ่งใหญ่ของเรา |
The pack hierarchy will start to break down. | ลำดับลองลงมาในฝูงอาจจะเริ่มสติแตก |
Defrost sequence initiated. | ลำดับละลายน้ำแข็งริเริ่ม |
Final sequence beginning. | ลำดับสุดท้ายเริ่มต้น |
The sequence that connects everything, everyone... | ลำดับอนุกรม ที่เชื่อมโยงทุกอย่างเข้าด้วยกัน ทุกๆคน |
Your grandfather's Fibonacci sequence. | ลำดับเลข ฟิโบนิชชี่ ของตาคุณ |
His sequence. | ลำดับเลขของเขา เขามักจะเล่นพนันไพ่ในมือเขา |
A mathematical sequence discovered by a 12th-century mathematician named Fibonacci. | ลำดับเลขคณิต ถูกค้นพบเมื่อศตวรรษที่12โดย นักคณิตศาสตร์ชื่อฟิโบนัคชี่ |
These timelines are so confusing. | ลำดับเวลาสับสนชิบเป๋ง |
What about Warwick's timeline the night of the murder? | ลำดับเหตุการณ์ของวอร์วิก ในคืนเกิดเหตุ? |
First... a horse can smell the city on you. | ลำดับเเรก... ม้ามันได้กลิ่นคนเมือง จากตัวคุณ |
First, the a capella choir from the all-boys' private school in Westerville, the Dalton Academy Warblers. | ลำดับแรก กลุ่มประสานเสียง จากโรงเรียนชายล้วน ในเวสเตอร์วิล Dalton Academy Warblers |
The first is, oh, so tawdry and public. | ลำดับแรก หรือปรากฎตัว ต่อสาธารณะ |
The First Order is looking for one just like it. | ลำดับแรกคือการมองหาหนึ่ง |
First one goes online next month. | ลำดับแรกจะเข้าสู่ระบบออนไลน์ ในเดือนหน้า |
The first of your species. The very first. | ลำดับแรกในเผ่าพันธุ์ของพวกแก แรกสุดเลยล่ะ |
A special sort of death for one so fair. | การเรียงลำดับพิเศษของการ เสียชีวิต อย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เป็น ธรรม |
Excellency, the expression is not to be found in Baudelaire but in Nietzsche's The Genealogy of Morals | ...ขัดจังหวะ Nietzsche ' s The การลำดับศักดิ์ของวงค์ตระกูลของศีลธรรม |
Sometimes the whole town used to go out and line up for something. | บางครั้งทั้งเมืองเคยออกไป และเรียงลำดับบางอย่าง |
The 9,000 Series uses holographic memories so chronological erasures would not work. | 9000 ชุดใช้ความทรงจำโฮโล แกรม เพื่อให้ตัวหนังสือตามลำดับจะ ไม่ทำงาน |
Thirty seconds to final sequence. | สามสิบวินาทีลำดับสุดท้าย |
...and I'll see each and every one of them... in turn. | ..และผมจะพบพวกเขาทุกคน... เรียงตามลำดับ |
Hey, what are you, some sort of punker? | เฮ้สิ่งที่คุณเรียงลำดับของ Punker บาง |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
先ず | [まず, mazu] Thai: เริ่มต้น, เบื้องต้น, ลำดับแรก เป็นคำกล่าวบอกลำดับขั้นตอน English: to start with |
相次ぐ | [あいつぐ, aitsugu] Thai: ตามมาเป็นลำดับ English: to follow in succession |