English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ภาษก | (n.) speaker Syn. ผู้พูด, โฆษก, ผู้กล่าว |
ภาษณ์ | (n.) speaking See also: talking, declaring Syn. การพูด |
ภาษา | (n.) language See also: speech, words Syn. คำพูด |
ภาษากระเหรี่ยง | (n.) Karen Syn. ชาวกระเหรี่ยง |
ภาษากรีก | (n.) Greek Syn. คนกรีก, ชาวกรีก |
ภาษากลาง | (n.) interlingua See also: interlanguage, common language |
ภาษากาย | (n.) body language |
ภาษาคน | (n.) human speech See also: human tongue, human language Syn. ภาษามนุษย์ Ops. ภาษาสัตว์ |
ภาษาครีโอล | (n.) Creole |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n.) computer language |
ภาษาคำติดต่อ | (n.) agglutinative language |
ภาษาจีน | (n.) Chinese |
ภาษาจีนกลาง | (n.) Mandarin See also: the standard Chinese language Syn. จีนแมนดาริน |
ภาษาซี | (n.) C programming language |
ภาษาต้นฉบับ | (n.) source language |
ภาษาตลาด | (n.) informal language See also: slang Syn. ภาษาปาก |
ภาษาต่างประเทศ | (n.) foreign language |
ภาษาติดต่อคำ | (n.) agglutinative language Syn. ภาษาคำติดต่อ |
ภาษาถิ่น | (n.) dialect See also: regional speech, localism, vernacular Syn. ภาษาย่อย |
ภาษาทมิฬ | (n.) Tamil Syn. ชาวทมิฬ |
ภาษาท้องถิ่น | (n.) vernacular See also: dialect Syn. ภาษาถิ่น |
ภาษาทางการ | (n.) official language See also: standard language, formal language Syn. ภาษามาตรฐาน |
ภาษาทางการ | (n.) written language Syn. ภาษาสุภาพ |
ภาษาท่าทาง | (n.) body language |
ภาษาธรรมชาติ | (n.) natural language |
ภาษาบาลี | (n.) Pali |
ภาษาประจำชาติ | (n.) national language |
ภาษาปาก | (n.) colloquialism See also: colloquial expression, spoken language Syn. ภาษาพูด |
ภาษาพิดจิ้น | (n.) pidgin Syn. ภาษาแก้ขัด |
ภาษาพื้นเมือง | (n.) dialect See also: regional speech, localism Syn. ภาษาถิ่น |
ภาษาพูด | (n.) colloquialism Ops. ภาษาเขียน |
ภาษามนุษย์ | (n.) human language Syn. ภาษา |
ภาษามลายู | (n.) Malay |
ภาษามาตรฐาน | (n.) standard language |
ภาษามือ | (n.) finger language See also: sign language, finger alphabet |
ภาษาย่อย | (n.) dialect See also: regional speech, localism, vernacular |
ภาษาระดับสูง | (n.) high level language |
ภาษาราชการ | (n.) official language |
ภาษาละติน | (n.) Latin |
ภาษาศาสตร์ | (n.) linguistics See also: philology |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
american english | ภาษาอังกฤษที่ใชเในอเมริกา |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
eye dialect | ภาษาออกเสียงที่สะกดผิด เพื่อช่วยในการออกเสียงให้ถูกต้อง เช่น wimmin สำหรับ women |
income tax | ภาษีรายได้ |
inheritance tax | ภาษีมรดก |
pidgin english | ภาษาอังกฤษผสม (เริ่มใช้ครั้งแรกในหมู่คนจีนตามท่าเรือ) ,ภาษามั่ว,ภาษาผสม, Syn. Pidgin English |
query language | ภาษาสอบถามใช้ตัวย่อว่า QL (อ่านว่า คิวแอล) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาธรรมดา มักใช้ในการสั่งเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหรือคลังข้อมูล (database) มาดูบนจอภาพหรือสั่งให้พิมพ์ออกมา |
high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ |
interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล |
job control language | ภาษาควบคุมงานใช้ตัวย่อว่า JCL หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด |
structured query language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างใช้ตัวย่อว่า (บางทีออกเสียงว่า "ซีเควล") เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล (database) ซึ่งใช้หลักการของการให้ตอบคำถามไปทีละข้อ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปเลือกหาข้อมูลที่ต้องการมาแสดง |
symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์เป็นภาษาที่ใช้เป็นรหัส กำหนดตำแหน่งที่อยู่ และการปฏิบัติการของคำสั่งต่าง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์ ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยมากกว่าภาษาเครื่อง เช่น ใช้คำว่า sub แทน ลบ (มาจากคำ subtract) |
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง,อันดับหนึ่ง,สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment,artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
low level language | ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) ฉะนั้น คอมพิวเตอร์จะแปลได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอย่างภาษา FORTRAN, COBOL หรือ C แต่ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับนี้ จะพบว่าเขียนยากกว่าใช้ภาษาระดับสูง ซึ่งมีลักษณะเหมือนภาษามนุษย์มากกว่า ตัวอย่างของภาษานี้มี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) อยู่เพียงภาษาเดียว ดู high level language เปรียบเทียบ |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ |
adage | (แอด' ดิจฺ) n. คติพจน์, สุภาษิต. -adagial adj., Syn. saying, proverb, precept) |
afghan | (แอฟ' เกิน, -แกน) n. ชาวอัฟกานิสถาน, ภาษาอัฟแกน, พรมที่ถักด้วยมือชนิดหนึ่ง. -adj. เกี่ยวกับอัฟกานิสถาน, ชาวอัฟกานิสถาน |
afrikaans | (แอฟริคานซ' คาน) n. ภาษาหนึ่งของอาฟริกาใต้ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวฮอลลันดา., Syn. Taal |
afrikander | (แอฟริคาน ' เดอะ, -เนอะ) ชาวอาฟริกาที่พูดภาษา Afrikaans. ชื่อพันธุ์วัวแดงชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, Syn. Africander (astern, abaft) |
afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages |
albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย |
alemannic | (แอลลิแมน' นิค) ภาษาของ Alemanni, ซึ่งเกี่ยวกับ Alemanni |
algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) |
target language | ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ |
algonquian | (แอลกอง' เควน) n., adj. ตระกูลหนึ่งของภาษาอินเดียแดง, ผู้ที่พูดภาษานี้ |
algonquin | (แอลกอง' คิน. -ควิน) n., (pl. -quins) อินเดียแดงที่พูดภาษา Algonquin |
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม,สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ |
altaic | (แอลเท' อิค) n. กลุ่มของภาษาที่ประกอบด้วย Turkic, Mongolian, Tungusic, Korean. -adj. เกี่ยวกับ Altaic, เกี่ยวกับเทือกเขา Altai., Syn. Altaian |
americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน |
americanist | (อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America) |
amerind | (แอม' เมอไรนดฺ) n. ชาวอินเดียแดงและเอสกิโมในอเมริกาเหนือและใต้, ภาษาท้องถิ่นของอินเดียแดง. -Amerindian adj., n. -Amerindic adj. |
amharic | (แอมฮา' ริค, อามฮา' ริค) n. ภาษาราชการของเอธิโอเปีย. -adj. เกี่ยวกับภาษานี้ |
anatolian | (แอนนะโท' เลียน) adj., n. เกี่ยวกับ Anatolia, ภาษาหรือประชาชนที่อยู่แถว Anatolia, Syn. Anatolic |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
adage | (n) สุภาษิต,ภาษิต,คติพจน์,คำกล่าว |
dialect | (n) ภาษาถิ่น,ภาษาพื้นเมือง,สำเนียงท้องถิ่น |
aphorism | (n) คำพังเพย,คติพจน์,ภาษิต |
bilingual | (adj) พูดได้สองภาษา |
byword | (n) ภาษิต,สุภาษิต,คำขวัญ,คำพูดกันบ่อยๆ |
cess | (n) ภาษี,จังกอบ,ดวง,โชค |
collector | (n) ผู้รวบรวม,พนักงานเก็บภาษี,ผู้สะสม,นักสะสม |
colloquial | (adj) เกี่ยวกับภาษาพูด |
colloquialism | (n) ภาษาปาก,ภาษาพูด,คำพูดธรรมดาๆ |
custom | (n) จารีตประเพณี,ประเพณี,ขนบธรรมเนียม,การอุดหนุน, กิจวัตร, ภาษี |
customhouse | (n) โรงภาษี,ขนอน,ด่านศุลกากร |
dictum | (n) สุภาษิต,คำกล่าว,คำสั่ง |
dutiable | (adj) ซึ่งจะต้องเสียอากร,ซึ่งต้องเสียภาษี |
duty | (n) หน้าที่,ภาระหน้าที่,อากร,ภาษี,ความรับผิดชอบ |
Egyptian | (adj) เกี่ยวกับประเทศอียิปต์,เกี่ยวกับชาติไอยคุปต์,เกี่ยวกับภาษาอียิปต์ |
euphemism | (n) การใช้ถ้อยคำสุภาพ,การใช้ภาษาสละสลวย |
euphuism | (n) การใช้ภาษาหรู,การใช้ภาษาสละสลวย |
excise | (n) อากร,ภาษี |
exemption | (n) การยกเว้น,การละเว้น,การพ้นจาก,ผู้ได้รับการยกเว้นภาษี |
farmer | (n) ชาวนา,ชาวไร่,เจ้าภาษี,เจ้าของฟาร์ม |
gainful | (adj) มีกำไร,มีภาษีกว่า,เป็นประโยชน์ |
grammar | (n) หลักไวยากรณ์,หลักภาษา |
grammatical | (adj) ตามไวยากรณ์,ตามหลักภาษา,เกี่ยวกับไวยากรณ์ |
Hebrew | (n) คนยิว,ชาวอิสราเอล,ภาษายิว,ภาษาอิสราเอล |
iambic | (n) จังหวะในโคลงภาษาอังกฤษ |
idiom | (n) โวหาร,สำนวน,ภาษาเฉพาะถิ่น,ลักษณะเฉพาะ |
imposition | (n) การก่อกวน,การลงโทษ,การหลอกลวง,การเอาเปรียบ,การเก็บภาษี |
intelligible | (adj) เข้าใจได้,เป็นภาษา,เข้าใจง่าย |
interview | (n) การสัมภาษณ์,การสนทนา,การเจรจา,การไต่ถาม |
language | (n) ภาษา,ถ้อยคำ |
Latin | (adj) เกี่ยวกับภาษาลาติน |
linguist | (n) นักภาษาศาสตร์ |
linguistics | (n) ภาษาศาสตร์ |
mandarin | (n) ขุนนางจีน,เจ้าสัว,ส้มจีน,ตุ๊กตาจีน,ภาษาจีนกลาง |
motto | (n) คติพจน์,ภาษิต,คำคม,คำขวัญ |
overtax | (vt) เก็บภาษีเกินควร,ใช้เกินกำลัง |
parlance | (n) วิธีการพูด,ภาษาเฉพาะ,การพูดจา,สำนวน |
taxpayer | (n) ผู้เสียภาษีอากร |
phraseology | (n) การใช้ถ้อยคำ,สำนวนโวหาร,ภาษาเฉพาะ |
POLL poll tax | (n) ภาษีรายหัว,ภาษีรัชชูปการ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
adage | ภาษิต [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amusement tax | ภาษีการบันเทิง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
applicative language; functional language | ภาษาเชิงหน้าที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
argot | ภาษาเฉพาะกลุ่ม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assessed taxes | ภาษีประเมิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
car tax | ภาษีรถยนต์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cess | ภาษีส่วนท้องถิ่น, จังกอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cigarette tax | ภาษียาสูบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
colloquial language; colloquial | ภาษาปาก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computer language | ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dialect | ภาษาถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
graduated tax | ภาษีอัตราเพิ่มเป็นขั้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
high level language | ภาษาระดับสูง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
imperative language | ภาษาเชิงคำสั่ง [มีความหมายเหมือนกับ procedural language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
income tax | ภาษีเงินได้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
inheritance tax | ภาษีการรับมรดก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
jargon | ภาษาเฉพาะวงการ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
job control language | ภาษาควบคุมงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
language | ภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lieu tax | ภาษีแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
linguistics | ภาษาศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
luxury tax | ภาษีสิ่งฟุ่มเฟือย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
machine language | ภาษาเครื่อง [มีความหมายเหมือนกับ computer language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mileage tax | ภาษีการใช้ถนน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mother tongue; mother language | ภาษาแม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
object language | ภาษาจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
octroi | ภาษีผ่านด่าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
patois | ภาษาชนบท [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
payroll tax | ภาษีหักจากค่าจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedural language | ภาษาเชิงกระบวนคำสั่ง [มีความหมายเหมือนกับ imperative language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programming language | ภาษาโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
property tax | ภาษีทรัพย์สิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
query language (QL) | ภาษาสอบถาม (คิวแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
remote control language | ภาษาควบคุมระยะไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sales tax | ภาษีการขาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
scientific language | ภาษาเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
structured query language (SQL) | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (เอสคิวแอล, ซีเควล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Ad Valorem Tax | ภาษีตามมูลค่า ภาษีที่เรียกเก็บตามมูลค่าของสินค้านั้น คำว่า "Ad valorem" เป็นภาษาละติน แปลว่า ตามมูลค่า ใช้ในการคำนวณหาจำนวนภาษีที่ต้องจ่าย โดยจำนวนภาษีที่ต้องจ่าย จะมีอัตราต่อมูลค่าของสินค้านั้น ๆ คงที่ โดยปกติคิดเป็นอัตราร้อยละของมูลค่าสินค้านั้น ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Antidumping duties | ภาษีต่อต้านการทุ่มตลาด [TU Subject Heading] |
Arabic language | ภาษาอาหรับ [TU Subject Heading] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรมแต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Baby Talk | ภาษาที่เด็กเล็กๆพูด [การแพทย์] |
Body language | ภาษากาย [TU Subject Heading] |
Cant | ภาษาของกลุ่มมิจฉาชีพ [TU Subject Heading] |
Creole dialects | ภาษาถิ่นลูกผสม [TU Subject Heading] |
Egyptian language | ภาษาอียิปต์ [TU Subject Heading] |
FORTRAN | ภาษาฟอร์แทรนภาษาเีขียนโปรแกรมที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งพัฒนาโดย จิม แบคคัส แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ในช่วงปี 2497 - 2501 [คอมพิวเตอร์] |
Algorithmic language | ภาษาอัลกอลภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] |
Hindi language | ภาษาฮินดี [TU Subject Heading] |
Income tax | ภาษีเงินได้ [TU Subject Heading] |
Indonesian language | ภาษาอินโดนีเซีย [TU Subject Heading] |
Khmer language | ภาษาเขมร [TU Subject Heading] |
Korean language | ภาษาเกาหลี [TU Subject Heading] |
Language | ภาษา, การสื่อภาษา [การแพทย์] |
Lao language | ภาษาลาว [TU Subject Heading] |
Lingua francas | ภาษานุเคราะห์ผสม [TU Subject Heading] |
Linguistics | ภาษาศาสตร์ [TU Subject Heading] |
LISP | ภาษาลิสป์ [คอมพิวเตอร์] |
Logo | ภาษาโลก [คอมพิวเตอร์] |
Low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์] |
Malay language | ภาษามลายู [TU Subject Heading] |
Mandarin dialects | ภาษาจีนกลาง [TU Subject Heading] |
Markup language | ภาษากำกับข้อความ [Assistive Technology] |
Mon-Khmer language | ภาษามอญ-เขมร [TU Subject Heading] |
Pali language | ภาษาบาลี [TU Subject Heading] |
Pascal | ภาษาปาสกาล [คอมพิวเตอร์] |
Payroll tax | ภาษีค่าจ้าง [เศรษฐศาสตร์] |
Pidgin English | ภาษาอังกฤษแก้ขัด [TU Subject Heading] |
Programmed Inquiry Language Or Teaching | ภาษาไพล็อต [คอมพิวเตอร์] |
Programming Language 1 | ภาษาพีแอลวัน [คอมพิวเตอร์] |
Property tax | ภาษีทรัพย์สิน [TU Subject Heading] |
Query languages (Computer science) | ภาษาสอบถาม (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Russian language | ภาษารัสเซีย [TU Subject Heading] |
Sanskrit language | ภาษาสันสกฤต [TU Subject Heading] |
Alexia | อ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน [การแพทย์] |
Alphanumeric characters | อักขระอักษรเลขอักขระที่รวมทั้งตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z ตัวเลข 0-9 และอักขระพิเศษที่เราสามารถพิมพ์ด้วยแป้มพิมพ์ได้ ตลอดจนอักขระควบคุมต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์] |
procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
language | (n.) ภาษา Syn. speech, dialect |
lingo | (n.) ภาษา Syn. dialect |
tongue | (n.) ภาษา Syn. language |
lingo | (n.) ภาษา (โดยเฉพาะภาษาต่างประเทศ) Syn. language |
lingua franca | (n.) ภาษากลาง |
interlingua | (n.) ภาษากลางที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศ See also: ภาษากลาง |
Gothic | (n.) ภาษากอธ See also: สถาปัตยกรรมแบบโกธิก |
Karen | (n.) ภาษากะเหรี่ยง |
Urdu | (n.) ภาษาของชาวปากีสถานและอินเดียเหนือ |
Norse | (n.) ภาษาของนอรเวย์ |
creole | (n.) ภาษาครีโอล See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา Syn. creolized language, mixed language |
creolized language | (n.) ภาษาครีโอล See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา Syn. mixed language |
mixed language | (n.) ภาษาครีโอล See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา Syn. creolized language |
machine code | (n.) ภาษาคอมพิวเตอร์ |
machine language | (n.) ภาษาคอมพิวเตอร์ See also: ภาษาเครื่อง, รหัสคำสั่งของคอมพิวเตอร์ Syn. machine code |
Chinese | (n.) ภาษาจีน |
Mandarin | (n.) ภาษาจีนกลาง (ใช้เป็นทางการในประเทศจีน) See also: ภาษาแมนดาริน Syn. Mandarin Chinese, official language |
Mandarin Chinese | (n.) ภาษาจีนกลาง (ใช้เป็นทางการในประเทศจีน) See also: ภาษาแมนดาริน Syn. official language |
official language | (n.) ภาษาจีนกลาง (ใช้เป็นทางการในประเทศจีน) See also: ภาษาแมนดาริน Syn. Mandarin Chinese |
Cantonese | (n.) ภาษาจีนกวางตุ้ง |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
My native language is Thai | ภาษาถิ่นของฉันคือ ภาษาไทย |
Her English is pretty good | ภาษาอังกฤษของเธอดีมาก |
Your English is improving little by little | ภาษาอังกฤษของคุณกำลังพัฒนาไปทีละน้อย |
How long have you studied English? | คุณเรียนภาษาอังกฤษมานานแค่ไหนแล้ว |
He speaks English fluently | คุณพูดภาษาอังกฤษได้คล่อง |
You speak English pretty well | คุณพูดภาษาอังกฤษได้ดีมาก |
How can I improve my spoken English? | ฉันจะสามารถปรับปรุงการพูดภาษาอังกฤษของฉันได้อย่างไร |
I came to New York today for my interview | ฉันมาที่นิวยอร์กเพื่อสัมภาษณ์วันนี้ |
I can also speak some French | ฉันยังสามารถพูดภาษาฝรั่งเศสได้บ้าง |
You speak English so well | คุณพูดภาษาอังกฤษดีเหลือเกิน |
Please take me to someone who speaks English | โปรดพาฉันไปหาใครก็ได้ที่พูดภาษาอังกฤษได้ |
Please find someone who speaks English | โปรดหาใครก็ได้ที่พูดภาษาอังกฤษให้หน่อย |
I'm practicing English with my friends | ฉันกำลังฝึกภาษาอังกฤษกับเพื่อนๆ |
He got an A in English | เขาได้ A ในวิชาภาษาอังกฤษ |
There are many ways of learning a language | มีหลายๆ วิธีในการเรียนภาษาหนึ่งๆ |
It's not difficult for me to speak English, | มันไม่ยากสำหรับฉันที่จะพูดภาษาอังกฤษ |
It's impossible to speak English like a native speaker | มันเป็นไปไม่ได้ที่จะพูดภาษาอังกฤษอย่างคนที่ใช้ภาษาอังกฤษมาแต่เกิด |
How many languages can you speak? | คุณพูดได้กี่ภาษาหรือ? |
How long did it take you to speak English? | คุณใช้เวลานานแค่ไหนในการพูดภาษาอังกฤษได้? |
It took me about five years to speak English | ฉันใช้เวลาราว 5 ปีในการพูดภาษาอังกฤษ |
How long will it take to learn a language? | ต้องใช้เวลานานแค่ไหนในการเรียนภาษา? |
Do you feel embarrassed when you speak English? | คุณรู้สึกอายเมื่อพูดภาษาอังกฤษหรือเปล่า? |
Do they seem confused when you speak English? | พวกเขาดูสับสนเมื่อฟังคุณพูดภาษาอังกฤษใช่หรือเปล่า? |
Is it difficult for you to understand native speakers? | เป็นเรื่องยากสำหรับคุณที่จะเข้าใจเจ้าของภาษาพูดใช่ไหม? |
You still can't understand English speakers easily? | คุณยังคงไม่สามารถเข้าใจที่เจ้าของภาษาพูดได้โดยง่ายใช่ไหม? |
You have studied English for years | คุณเรียนภาษาอังกฤษมาหลายปี |
We'd like you to come in tomorrow for an interview | เราอยากให้คุณมาสัมภาษณ์ในวันพรุ่งนี้ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
Language, singling out somebody based on gender-- | ภาษา การเลือกบางคนจากเพศของเขา |
And it led me here, the dead archives and Redmon. | ภาษา และความจริง... ส่งข้อมูลซึ่งกันและกัน |
My body language is "I'm driving." | ภาษากายของฉัน ฉันกำลังขับรถ |
Her body language doesn't prove anything. | ภาษากายของเธอไม่ได้บอก - หรือพิสูจน์อะไรได้เลย |
Body language, closing the blinds. | ภาษากายไงคะ การปิดม่านไว้ |
It is old Ghiscari, khaleesi. | ภาษากิสคารีโบราณเพคะ คาลีซี |
The language of the mystic arts, is as old as civilization. | ภาษาของศาสตร์แห่งเวทย์ เก่าแก่เทียบเท่าอารยธรรม |
Our language, like our culture, is messy, and sometimes one can be both. | ภาษาของเราเช่นเดียวกับ วัฒนธรรมของเราคือยุ่ง และบางครั้งหนึ่งสามารถเป็นได้ ทั้ง |
Your KIingon's a bit rusty, Chuck. | ภาษาคลิงกอนเขรอะไปหน่อย |
Parse tongue won't save you now, Potter. It only obeys me. | ภาษางู ช่วยเธอไม่ได้พอตเตอร์ มันเชื่อฟังแต่ข้า |
It's Chinese. It means sur-- | ภาษาจีน มันหมายถึง.. |
Mandarin is a very complicated language. | ภาษาจีนกลางเป็นภาษาที่ซับซ้อนมาก |
Your Cantonese is very good. | ภาษาจีนกวางตุ้งคุณดีมาก |
Your Cantonese is improving. | ภาษาจีนกวางตุ้งคุณพัฒนาขึ้นนะ |
Chinese is a beautiful language, but sometimes I feel like I'm not doing it justice. | ภาษาจีนเป็นภาษาที่ไพเราะ แต่บางครั้งรู้สึก เหมือนฉันพูดได้ไม่ถูกต้อง |
Mandarin for "Purgatory"" | ภาษาจีนแปลว่า "ที่ล้างบาป" |
Ancient Chinese isn't my forte. | ภาษาจีนโบราณไม่ใช่วิชาเอกของฉัน |
English, Tej. | ภาษาชาวบ้าน, เทจ น่าจะเป็นสายสีส้ม |
In layman's terms, I was fucked. | ภาษาชาวบ้านคือ "ผมเป็นบ้า" |
English, gentlemen. English, please. | ภาษาชาวบ้านด้วยท่านสุภาพบุรุษ ขอให้พูดกันภาษาชาวบ้าน ขอร้องล่ะ |
It's all in Japanese. | ภาษาญี่ปุ่น... ............ |
'Yakusoku' in Japanese, too. | ภาษาญี่ปุ่นก็พูด ยากุโซกุ เหมือนกัน |
Your Japanese sounds unusual. | ภาษาญี่ปุ่นของเธอแปลกดี |
It's Japanese. lt's Japanese-hard. | ภาษาญี่ปุ่นนะ, ภาษาญี่ปุ่นยากจะตาย |
Japanese? I don't know Japanese at all. | ภาษาญี่ปุ่นหรอ ผมลืมเรื่องญี่ปุ่นเลย |
Xenolinguistics. You have no idea what that means. | ภาษาต่างพิภพศาสตร์ คงไม่รู้สิท่าว่าคืออะไร |
We cops like to call it surveillance. | ภาษาตำรวจเค้าเรียกว่าสอดส่องดูแล |
Frequent Turkish and German loan words. | ภาษาตุรกีเยอะหน่อย และคำยืมจากภาษาเยอรมัน |
Qetsiyah's native tongue, I'm guessing. | ภาษาที่เคทสิยาห์พูดมั้ง ฉันว่า |
The language on their contract speaks of an underground network, which tells us that he has a few men he trusts. | ภาษาที่ใช้ในสัญญานี้ พูดถึงเครือข่ายใต้ดิน ซึ่งบอกกับเราว่า มีคนไม่กี่คนที่เขาไว้ใจ |
In the language of my people, it means "The Key". The key to what? | ภาษาบ้านข้ามันคือ กุญแจ กุญแจอะไร? |
Their French is worse than mine. | ภาษาฝรั่งเศษแย่กว่าฉั้นมาก |
What's French for, uh, "That's not gonna be the name of the band"? | ภาษาฝรั่งเศส "จ้างก็ไม่เอาชื่อวงนี้" พูดว่ายังไง |
It's French for "baby chickens. " | ภาษาฝรั่งเศส ก็ลูกไก่ไงล่ะ |
It's French for "bad boy"" | ภาษาฝรั่งเศส แปลว่า หนุ่มตัวร้าย |
I think it's like that French word of yours. | ภาษาฝรั่งเศสของคุณ เรียกว่าไงแล้วนะ |
How's your French? | ภาษาฝรั่งเศสของคุณเป็นไงบ้าง? |
I think it's French. My mama is half Cajun. | ภาษาฝรั่งเศสค่ะ แม่หนูเป็นลูกครึ่ง |
Your French is good, but your Parisian accent is terrible. | ภาษาฝรั่งเศสคุณคล่อง แต่สำเนียงปารีสไม่ได้ความ |
It's not as good as your French! Not as good as your French. | ภาษาฝรั่งเศสนายว่าแย่แล้ว! |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
国字 | [こくじ, kokuji] Thai: อักษรคันจิที่คิดขึ้นเองในภาษาญี่ปุ่น English: kanji made in Japan |
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาเขียน English: written language |
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาในวรรณกรรม English: literary language |
日本語 | [にほんご, nihongo] Thai: ภาษาญี่ปุ่น English: Japanese language |
申告 | [しんこく, shinkoku] Thai: แบบแสดงรายการที่เกี่ยวกับทางราชการเช่นการเสียภาษี English: statement |
言語 | [げんご, gengo] Thai: ภาษา English: language |
音便 | [おんびん, onbin] Thai: การเปลี่ยนแปลงของเสียงอันเนื่องมาจากเสียงข้างเคียงในภาษาญี่ปุ่น English: euphonical change |
飲む | [のむ, nomu] Thai: ดื่ม ในภาษาญี่ปุ่นใช้กับการกินของเหลวหรือ การกลืนลงคอโดยไม่เคี้ยว |