English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ตัวแปล | (n.) compiler Syn. เครื่องแปล |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler See also: collector, editor, translator, interpreter |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
gender bender | ตัวแปลงเพศหมายถึง ปลั๊กไฟพิเศษที่สามารถเปลี่ยนตัวต่อสายเคเบิลตัวเมียให้เป็นตัวผู้หรือสลับตัวผู้เป็นตัวเมียได้ |
digital-to-analog convert | ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอะนาล็อกใช้ตัวย่อว่า DAC (อ่านว่า ดีเอซี) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนข้อมูลจากดิจิตอล (digital) เป็นอะนาล็อก (analog) |
incremental compiler | ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่ทำหน้าที่เป็นตัวแปลคำสั่งในโปรแกรมให้เป็นรหัสภาษาเครื่องในทันทีที่พิมพ์ข้อความที่เป็นคำสั่งเต็มบรรทัด ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มตัวนี้จะทำหน้าที่แปลในขณะที่เราพิมพ์คำสั่งแต่ละคำสั่ง ผิดกับตัวแปลอื่นที่จะรอจนพิมพ์โปรแกรมเสร็จหมดจึงจะลงมือแปล การแปลแบบหลังนี้ เราจะต้องรอสักนิดหนึ่ง เมื่อการแปลเสร็จสิ้นแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะลงมือทำงาน ดู interpreter ประกอบ |
interpreter | ตัวแปลภาษาเป็นโปรแกรมตัวแปลที่อ่านคำสั่งในโปรแกรมทีละคำสั่ง (ไม่รอจนจบโปรแกรมเหมือนตัวแปลอื่น) แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้นเลย เช่น ตัวแปลที่ใช้แปลโปรแกรมภาษาเบสิก (BASIC) การเรียนวิธีเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ ผู้เรียนจะรู้สึกว่าง่ายและทันใจ เพราะพอใส่คำสั่งเข้าไป เครื่องก็จะรายงานได้ทันทีว่า คำสั่งนั้นถูกหรือผิด ถ้าสั่งให้ทำอะไร ก็จะทำให้เลย ข้อเสียของตัวแปลประเภทนี้ ก็คือ คอมพิวเตอร์จะไม่เก็บคำแปลไว้ หากจะต้องย้อนกลับไปทำคำสั่งนั้นอีก ก็จะต้องแปลใหม่อีกทุกครั้ง ดู compiler ประกอบ |
macro assembler | ตัวแปลแมโครหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมหนึ่งที่ใช้งานในการสร้างโปรแกรมแมโครและมีหน้าที่แปลภาษาที่ใช้ในแมโครให้เป็นภาษาแอสเซมบลี (assembly language) แต่ละข้อคำสั่งในโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีนั้นใช้แทนคำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) หลายคำสั่งได้ ฉะนั้นถ้าเขียนแมโครเก็บไว้ เมื่อเรียกมาใช้ก็จะทำให้สะดวก ไม่ต้องพิมพ์คำสั่งยาว ๆ ดู macro ประกอบ |
ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
dac | (ดีเอซี) ย่อมาจาก digital-to-analog computer (แปลว่า ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอะนาล็อก) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนข้อมูลจากดิจิตอล (digital) เป็นอะนาล็อก (analog) |
error code | รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น |
local variable | ตัวแปรเฉพาะที่เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใช้อธิบายถึงข้อมูลที่แยกออกไปอยู่ในบางส่วนบางตอนของโปรแกรม เช่น อาจเป็นตัวแปลที่อยู่เฉพาะในโปรแกรมย่อยเท่านั้น |
turbo c | เทอร์โบซี เป็นชื่อตัวแปลภาษาซี (ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม) ที่บริษัทบอร์แลนด์เป็นผู้ผลิตดู C ประกอบ |
compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม,ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
turbo pascal | เทอร์โบ ปาสกาล เป็นชื่อตัวแปลภาษาปาสกาล (ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม) ที่ที่บริษัทบอร์แลนด์เป็นผู้พัฒนาขึ้นในราว ค.ศ.1984 ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันดู Pascal ประกอบ |
turbo prolog | เทอร์โบ โปรลอก เป็นชื่อตัวแปลภาษาโปรลอก (ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม) ที่ที่บริษัทบอร์แลนด์เป็นผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ |
executable statement | ข้อความสั่งทำการหมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูงที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือทำการ คำสั่งเหล่านี้ ตัวแปลโปรแกรม (compiler) จะแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วเครื่องจะปฏิบัติการตามคำสั่งนั้น เช่น คำสั่งกำหนดค่า A = 2 ถ้าเครื่องเจอคำสั่งนี้ ก็จะลงมือกระทำการ (execute) ด้วยการนำค่า 2 ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำช่องหนึ่งที่มีอยู่ (address) ชื่อ A เป็นต้นดู non executable statement เปรียบเทียบ |
fortran | (ฟอร์แทรน) เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง สร้างขึ้นเป็นภาษาแรก ๆ เพื่อให้นัก คณิตศาสตร์ใช้ได้สะดวก และรวดเร็ว ย่อมาจากคำว่า FORmular TRANslator ซึ่งก็แปลได้ว่า ตัวแปลสูตรคณิตศาสตร์ นั่นเอง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนนั้น สามารถนำไปใช้กับ เครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ได้หลายยี่ห้อ โดยแทบจะไม่ต้อง ปรับ แก้เลย ก่อนหน้าที่จะมีการใช้ภาษานี้ นักเขียนโปรแกรม รู้จัก แต่ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) |
high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ |
imperative statement | หมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูง (high level language) ที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ลงมือทำการ คำสั่งเหล่านี้ ตัวแปลโปรแกรม จะแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อน แล้วเครื่องจึงจะปฏิบัติตาม เช่น ข้อความสั่งทำการกำหนดให้ A = 2 ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์พบคำสั่งนี้ ก็จะลงมือทำหาร ด้วยการนำ 2 ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำช่องหนึ่งที่มีอยู่ (address) แล้วกำหนดชื่อที่เก็บนั้นว่า A เป็นต้นมีความหมายเหมือน excutable statement |
interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล |
job control program | ชุดคำสั่งควบคุมงานหมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชุดหนึ่ง ที่มีหน้าที่ควบคุมสายงานในการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่อ่านข้อมูลเข้าไปเก็บ กำหนดว่าจะต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดคำสั่งใดบ้าง (เช่น ตัวแปลภาษาใด) กำหนดการเริ่มกระทำการ (execute) และการส่งผลที่คำนวณแล้วไปยังเครื่องพิมพ์ ฯมีความหมายเหมือน job control language |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
non executable statement | ข้อความสั่งไม่ทำการหมายถึง คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่ทำการใด ๆ แต่เป็นการแจ้งให้ตัวแปลชุดคำสั่ง (compiler) รับรู้ข้อความบางอย่างที่ต้องการแจ้งให้ทราบเท่านั้น เช่น คำสั่ง END เป็นต้น คำสั่งนี้เป็นเพียงต้องการแจ้งให้ทราบว่า จบโปรแกรมนั้น ๆ แล้วเท่านั้น นอกจากนั้น ก็อาจเป็นคำสั่งให้เตรียมที่ในหน่วยความจำบ้าง เตรียมจัดรูปแบบข้อมูลบ้าง ถ้าสั่งให้อ่านข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Read คำสั่งนี้เป็นข้อความสั่งทำการ (excutable statement) เครื่องจะทำการทันทีที่พบคำสั่งนี้ แต่อ่านข้อมูลแล้วนำไปจัดเก็บในรูปแบบตามคำสั่ง FORMAT (ในภาษาฟอร์แทรน) คำสั่ง FORMAT ถือว่าเป็นข้อความสั่งไม่ทำการดู excutable statement เปรียบเทียบ |
object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
digital-to-analog converter (DAC) | ตัวแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก, ตัวเปลี่ยนดิจิทัลเป็นแอนะล็อก (ดีเอซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
compiler | ๑. ตัวแปลโปรแกรม๒. โปรแกรมแปลโปรแกรม, คอมไพเลอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
DAC (digital-to-analog converter) | ดีเอซี (ตัวแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก, ตัวเปลี่ยนดิจิทัลเป็นแอนะล็อก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
digitizer; digitiser | ๑. ตัวแปลงเป็นดิจิทัล๒. เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [มีความหมายเหมือนกับ data tablet; tablet] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interpreter | ๑. โปรแกรมแปลคำสั่ง, อินเทอร์พรีเตอร์๒. ตัวแปลคำสั่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Assembler | ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีโปรแกรมประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Compiler | ตัวแปลโปรแกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Interpreter | ตัวแปลคำสั่ง [คอมพิวเตอร์] |
ROM Read Only Menory | หน่วยความจำรอมควบคุมการส่งข้อมูลหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว หน่วยความจำสำหรับเก็บคำสั่งไว้อย่างถาวร คำสั่งที่เก็บไว้จะไม่ลบเลือนหายไป แม้ว่าไฟฟ้าจะดับ หน่วยความจำนี้ปกติเป็นชิปที่ผู้ผลิตได้บรรจุคำสั่งเอาไว้อย่างถาวร คำสั่งทั่วไปที่เก็บอยู่ในรอมได้แก่ BIOS (Basic Input/Output System) หรือโปรแกรมที่ช่วยการส่งข้อมูลระหว่างตัวประมวลผลกับอุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก ข้อมูลตัวแปลภาษาเบสิก และคำสั่งอื่นๆ ตามแต่ผู้ิผลิตจะเห็นว่าสมควร [คอมพิวเตอร์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
codger | (n.) คนแก่ที่ทำตัวแปลกๆ |
go on | (phrv.) ทำตัวแปลกๆ |
window licker | (sl.) คนที่ทำตัวแปลก (มักใช้กับคนที่นั่งข้างๆ บนรถเมล์) |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
My power converters, they're failing! | ตัวแปลงพลังงานของข้าไม่ทำงาน |
Power converter got crushed by a slasher tail. | ตัวแปลงพังแล้ว ฝีมือสเลสเชอร์ |
Indy, you're acting awfully strange. | อินดีที่คุณกำลังทำตัวแปลกชะมัด |
You're strangely dressed... for a knight. | เจ้าแต่งตัวแปลกๆ... สำหรับอัศวิน |
He was looking forward to going to the movies with his father. | ก้นชั้นมันก้อใหญ่ กระดาษมันไม่พอปูรองอ่ะ ยังไงก้อเถอะ นายเอาไปรองก้นไม่ได้นะ -ทำไมวันนี้ทำตัวแปลกๆงี้อ่ะ |
He was strange for a long time after that | หลังจากนั้นเขาทำตัวแปลกอยู่นาน |
Why are you so weird? | ทำไมเธอชอบทำตัวแปลกๆ? |
Tell me why you've acted so weird since you got here | มันเพราะอะไรกัน ทำไมลูกทำตัวแปลกๆ ตั้งแต่กลับมาอยู่บ้าน |
There! Now we are getting along. | นั่นไง เรียกชื่อตัวแปลว่าเริ่มซี้กัน |
You're acting really strange today. | วันนี้เธอทำตัวแปลก ๆ |
I factored them into my coordinates. | ผมใส่ตัวแปลลงในพิกัดแล้ว. |
That person is indifferent towards others. | เค้าน่ะชอบทำตัวแปลกกว่าคนอื่น |
No wonder that kid was so freaked out. | มิน่าล่ะ เด็กนั่นถึงทำตัวแปลก |
In Latin, sub rosa. Literal translation.. | ภาษาละติน ซัป โรซา ความหมายตรงตัวแปลได้ว่า... |
Have you noticed lately the captain seems to be acting a bit strange... er? | แกเคยบอกไว้ใช่ไหม กัปตันเรา ทำตัวแปลกๆ น่ะ .. เอ๋อ |
So we go up by I-25, right? And this guy is acting fucking weird, dude. | เราไปตามถนนสาย I-25 เขาทำตัวแปลกๆ |
Been acting so strangely- He thinks that's gonna happen. | ทำตัวแปลกๆ .. พ่อคิดว่า นั่นคือสิ่งที่จะเกิดขึ้น |
Well, you've been acting strange with me all day, so what else am I supposed to think? | ก็ คุณทำตัวแปลกกับฉันทั้งวัน แล้วจะให้ฉันคิดยังไงได้ล่ะ? |
You're acting oddly these days. | เธอทำตัวแปลกๆ นะหมู่นี้ |
Why was Uncle Fred behaving so strangely? | ทำไม Uncle Fred ถึงทำตัวแปลกๆ |
Whistler got a visit from the company. He's been acting strange ever since. | มีพวกนั้นมาเยี่ยมวิสท์เลอร์ หลังจากนั้นมันก็ทำตัวแปลกๆ |
You're acting really fucking weird right now. | เธอกำลังทำตัวแปลกโคตรตอนนี้ |
I'm acting weird? Cause I think you're acting fucking weird right now. | ฉันเนี่ยนะทำตัวแปลก เพราะฉันคิดว่านายตะหากที่ทำตัวแปลกอยู่ตอนนี้ |
How exactly am I acting weird? | ฉันทำตัวแปลกยังไงไม่ทราบ |
Because you're really weirding me out. | เพราะนายกำลังทำตัวแปลกๆใส่ฉันอยู่ |
Now, all of a sudden, she goes off the deep end. | จู่ ๆ เขาก็ทำตัวแปลก ๆ ไป |
Yes, because you represent one out of every eight people living in this country. | ใช่เพราะนายทำตัวแปลกกว่าทุกคน อยู่ในย่านนี้ |
Morgana's been amazing these last few days. | มอร์กาน่าทำตัวแปลกๆ มาสองสามวันแล้ว |
Throughout this period, she acted strangely; | ในช่วงเวลานั้น เธอทำตัวแปลก |
He knows my name. He's acting weird. | เขารู้ชื่อฉัน เขาทำตัวแปลกๆ |
Listen, Julian, if Alma's acting weird, just be cool, okay? | ฟังนะ จูเลี่ยน ถ้าอัลม่าทำตัวแปลกๆ อย่าไปสน โอเคมั๊ย |
She's acting odd. Just don't worry about it, okay? | เขาทำตัวแปลกๆ ไม่ต้องกังวล โอเคมั๊ย |
And then my mum started acting weird with this builder guy. | หลังจากนั้นแม่ฉันก็เริ่มทำตัวแปลกๆ กับช่างสร้างบ้าน |
He's been acting strange since the holidays. | เขาทำตัวแปลกไป ตั้งแต่วันหยุดที่แล้ว |
You always act strange after he shows up. | คุณทำตัวแปลกทุกที ที่หมอนั่นโผล่หน้ามา |
I'm not acting strange. | ฉันไม่ได้ทำตัวแปลก ฉันกำลังมองหามักโรนี |
I mentioned Lucy, and you get all weird. | ฉันพูดถึงลูซี่ แล้วเธอก็ทำตัวแปลก ๆ |
Yeah,she thought I was nuts for getting weird about it. | ใช่ เธอคิดว่าฉันบ้าที่ทำตัวแปลกเรื่องนี้ ฉันเข้าใจ |
The realization that my own body was fundamentally foreign to me, that it was a threat. | การตระหนักรู้ว่ามันคือ ส่วนหนึ่งของร่างกายฉัน กลายเป็นตัวแปลกปลอมในร่างฉัน มันคือตัวคุกคามชีวิต |
That itself is one of the special characteristics of dissociative personality disorder. | มันเป็นหนึ่งในลักษณะพิเศษของอาการทำตัวแปลกแยก |