English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
body language | (n.) ภาษาท่าทาง See also: ภาษากาย Syn. gesture |
creolized language | (n.) ภาษาครีโอล See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา Syn. mixed language |
language | (n.) ภาษา Syn. speech, dialect |
language | (n.) วิธีการสื่อสาร See also: คำพูด, ภาษาพูด |
machine language | (n.) ภาษาคอมพิวเตอร์ See also: ภาษาเครื่อง, รหัสคำสั่งของคอมพิวเตอร์ Syn. machine code |
metalanguage | (n.) คำหรือวลีที่คนใช้พูดหรืออธิบายภาษา Syn. language |
mixed language | (n.) ภาษาครีโอล See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา Syn. creolized language |
official language | (n.) ภาษาจีนกลาง (ใช้เป็นทางการในประเทศจีน) See also: ภาษาแมนดาริน Syn. Mandarin Chinese |
protolanguage | (n.) ภาษาต้นกำเนิดภาษาอื่น See also: ภาษาต้นตระกูล |
sign language | (n.) ภาษาสัญลักษณ์ See also: ภาษาท่าทาง, ภาษาใบ้ Syn. pantomime |
speak the same language | (idm.) เข้าใจกัน |
target language | (n.) ภาษาเป้าหมายในการแปล Ops. source language |
use strong language | (idm.) ใช้ถ้อยคำรุนแรง See also: ใช้คำแรงๆ, ใช้คำหยาบ |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
language | (แลง'เกว็จฺ) n. ภาษา |
printer control language | ใช้ตัวย่อว่า PCL (อ่านว่า พีซีแอล) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องพิมพ์บางยี่ห้อ ส่วนมากจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์ของบริษัทฮิวเล็ตแพกการ์ดหรือ HP (อย่างปนคำนี้กับ PDL) |
high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ |
interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล |
job control language | ภาษาควบคุมงานใช้ตัวย่อว่า JCL หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด |
programming language one | ใช้ตัวย่อว่า PL/1 (อ่านว่า พีแอล/วัน) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) รุ่นเก่าอีกภาษาหนึ่ง ส่วนใหญ่ใช้กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือเมนเฟรม (mainframe) |
query language | ภาษาสอบถามใช้ตัวย่อว่า QL (อ่านว่า คิวแอล) เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาธรรมดา มักใช้ในการสั่งเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหรือคลังข้อมูล (database) มาดูบนจอภาพหรือสั่งให้พิมพ์ออกมา |
structured query language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างใช้ตัวย่อว่า (บางทีออกเสียงว่า "ซีเควล") เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล (database) ซึ่งใช้หลักการของการให้ตอบคำถามไปทีละข้อ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปเลือกหาข้อมูลที่ต้องการมาแสดง |
symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์เป็นภาษาที่ใช้เป็นรหัส กำหนดตำแหน่งที่อยู่ และการปฏิบัติการของคำสั่งต่าง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์ ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยมากกว่าภาษาเครื่อง เช่น ใช้คำว่า sub แทน ลบ (มาจากคำ subtract) |
low level language | ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) ฉะนั้น คอมพิวเตอร์จะแปลได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอย่างภาษา FORTRAN, COBOL หรือ C แต่ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับนี้ จะพบว่าเขียนยากกว่าใช้ภาษาระดับสูง ซึ่งมีลักษณะเหมือนภาษามนุษย์มากกว่า ตัวอย่างของภาษานี้มี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) อยู่เพียงภาษาเดียว ดู high level language เปรียบเทียบ |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
page description language | ใช้ตัวย่อว่า PDL (พีดีแอล) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกับโพสต์คริปต์ (postcript) ซึ่งจะทำการประมวลผลในหน่วยประมวลผลของเครื่องพิมพ์เอง ในพีดีแอลนั้น จะต้องมีคำสั่งเกี่ยวกับเรื่องของการกำหนดหน้า การคำนวณภาพกราฟิก แม้จะมีความยาวมาก แต่ก็จะทำงานได้เร็วกว่า คำสั่งที่ส่งไปจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีซีแอล พีดีแอลนั้นจะใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ทุกยี่ห้อที่สามารถเข้าใจภาษานี้ ปัจจุบันแมคอินทอชใช้พีดีแอล ที่ชื่อ "postcript" ส่วนพีซีใช้พีดีแอลที่ชื่อ "true type" (เทียบเคียงได้กับ postcript) |
programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ |
target language | ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
language | (n) ภาษา,ถ้อยคำ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
ALGOL (ALgorithmic Language) | (ภาษา)อัลกอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
applicative language; functional language | ภาษาเชิงหน้าที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
COBOL (Common Business Oriented Language) | (ภาษา)โคบอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
colloquial language; colloquial | ภาษาปาก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computer language | ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
high level language | ภาษาระดับสูง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
HTML (HyperText Markup Language | (ภาษา)เอชทีเอ็มแอล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
imperative language | ภาษาเชิงคำสั่ง [มีความหมายเหมือนกับ procedural language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
JCL (job control language) | เจซีแอล (ภาษาควบคุมงาน) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
job control language | ภาษาควบคุมงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
language | ภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine language | ภาษาเครื่อง [มีความหมายเหมือนกับ computer language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
metalanguage | อภิภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mother tongue; mother language | ภาษาแม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
object language | ภาษาจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
perl (Practical Extraction and Reporting Language) | (ภาษา)เพิร์ล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
procedural language | ภาษาเชิงกระบวนคำสั่ง [มีความหมายเหมือนกับ imperative language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programming language | ภาษาโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
QL (query language) | คิวแอล (ภาษาสอบถาม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
query language (QL) | ภาษาสอบถาม (คิวแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
remote control language | ภาษาควบคุมระยะไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
scientific language | ภาษาเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
SQL (structured query language) | เอสคิวแอล, ซีเควล (ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
structured query language (SQL) | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (เอสคิวแอล, ซีเควล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
target language | ภาษาเป้าหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
usual language | ภาษาปรกติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Arabic language | ภาษาอาหรับ [TU Subject Heading] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรมแต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
B (Computer program language) | บี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
BASIC (Computer program language) | เบสิก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Body language | ภาษากาย [TU Subject Heading] |
COBOL (Computer program language) | โคบอล (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Egyptian language | ภาษาอียิปต์ [TU Subject Heading] |
fourth-generation languages( 4GLs ) | โฟร์ทจีแอล, กลุ่มของภาษาที่แตกต่างจากภาษาเชิงกระบวนความ ที่เน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้โดยง่าย ภาษาจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ ตัวอย่างของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิวแอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Algorithmic language | ภาษาอัลกอลภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] |
Hindi language | ภาษาฮินดี [TU Subject Heading] |
HTML (Document markup language) | เอชทีเอ็มแอล (ภาษากำหนดเครื่องหมายเอกสาร) [TU Subject Heading] |
Indonesian language | ภาษาอินโดนีเซีย [TU Subject Heading] |
Java (Computer program language) | จาวา (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Khmer language | ภาษาเขมร [TU Subject Heading] |
Korean language | ภาษาเกาหลี [TU Subject Heading] |
Language | ภาษา, การสื่อภาษา [การแพทย์] |
Lao language | ภาษาลาว [TU Subject Heading] |
Lingo (Computer program language) | ลิงโก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์] |
Malay language | ภาษามลายู [TU Subject Heading] |
Markup language | ภาษากำกับข้อความ [Assistive Technology] |
Mathematica (Computer program languages) | แมธิแมติกา (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Metalanguage | อภิภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Mon-Khmer language | ภาษามอญ-เขมร [TU Subject Heading] |
Natural language processing | การประมวลภาษาธรรมชาติ [คอมพิวเตอร์] |
Pali language | ภาษาบาลี [TU Subject Heading] |
Perl (Computer program language) | เพิร์ล (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
PostScript (Computer program language) | โพสต์สคริปต์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Programmed Inquiry Language Or Teaching | ภาษาไพล็อต [คอมพิวเตอร์] |
Programming Language 1 | ภาษาพีแอลวัน [คอมพิวเตอร์] |
Prolog (Computer program language) | โปรลอก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Python (Computer program language) | ไพรอน (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Query languages (Computer science) | ภาษาสอบถาม (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
RPG (Computer program language) | อาร์พีจี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Russian language | ภาษารัสเซีย [TU Subject Heading] |
Sanskrit language | ภาษาสันสกฤต [TU Subject Heading] |
Sign language | ภาษาสัญลักษณ์ [TU Subject Heading] |
Spanish language | ภาษาสเปน [TU Subject Heading] |
SQL (Computer program language) | เอสคิวแอล (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
การันต์ | (n.) the mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute Syn. ทัณฑฆาต, เครื่องหมายการันต์, ตัวการันต์ |
ตัวการันต์ | (n.) the mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute Syn. ทัณฑฆาต, เครื่องหมายการันต์ |
เครื่องหมายการันต์ | (n.) the mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute Syn. ทัณฑฆาต, ตัวการันต์ |
การทดสอบภาษาอังกฤษสำหรับคนต่างชาติผู้จะเข้าศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา | (n.) Test of English as Foreign Language See also: TOFEL |
การพัฒนาทางด้านภาษา | (n.) language development |
การพัฒนาภาษา | (n.) language development Syn. การพัฒนาทางด้านภาษา |
คัดไทย | (n.) penmanship in Thai language Syn. วิชาคัดไทย |
คัดไทย | (v.) write one´s penmanship in Thai language See also: handwrite Syn. คัดลายมือ |
คำหยาบ | (n.) vulgar language Syn. คำหยาบคาย |
คำหยาบคาย | (n.) vulgar language |
ซี | (n.) C language See also: C Syn. ภาษาซี |
ตันติภาษา | (n.) classical language See also: systematizied language |
นิรุกติ | (n.) language See also: speech, words Syn. ภาษา, คำพูด |
ภาษา | (n.) language See also: speech, words Syn. คำพูด |
ภาษากาย | (n.) body language |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n.) computer language |
ภาษาคำติดต่อ | (n.) agglutinative language |
ภาษาซี | (n.) C programming language |
ภาษาต้นฉบับ | (n.) source language |
ภาษาตลาด | (n.) informal language See also: slang Syn. ภาษาปาก |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
My native language is Thai | ภาษาถิ่นของฉันคือ ภาษาไทย |
How many languages can you speak? | คุณพูดได้กี่ภาษาหรือ? |
There are many ways of learning a language | มีหลายๆ วิธีในการเรียนภาษาหนึ่งๆ |
How long will it take to learn a language? | ต้องใช้เวลานานแค่ไหนในการเรียนภาษา? |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
There is neither speech nor language, yet His voice is heard among them. | จักไม่มีคําพูด หรือภาษาใด ๆ เเต่สุรเสียงพระองค์จะดังก้อง |
However, look at their obscene gestures like deaf-mute language with a code none of us can break, no matter how great our power | อย่างไรก็ตาม, ดูที่การแสดงอากัปกิริยา their obscene ... ...เหมือนภาษาคนหูหนวกและเป็นใบ้... ...กับไม่มีรหัสของเราสามารถหยุด,\ Nno วิธีใหญ่พลังของเรา |
You never told me you spoke my language, Dr.Jones. | คุณไม่เคยบอกผมว่าคุณพูดภาษาของฉัน Dr.Jones |
The other's a code-breaker with language ability. | อีกคนเป็นช่างเทคนิค ที่มีความสามารถด้านภาษา |
Don't bother. This is a language only understood between assassins. | ไม่ต้องกังวล มันเป็นภาษาเฉพาะ มีแต่มือสังหาร เท่านั้นที่อ่านออก |
Why do you use language like that? Don't use language like that. No wonder your daughters talk like toilets. | ทำไมใช้คำพูดแบบนั้น มิน่าลูกถึงพูดไม่เพราะ |
You have to know the language there, otherwise they don't like you. | คุณต้องพูดฝรั่งเศสได้ ไม่งั้นเขาจะเกลียดคุณ |
He speaks a dozen languages, knows every local custom. | เขาพูดภาษาอื่นๆได้ถึง 12 ภาษา, รู้จักวัฒนธรรมของทุกๆแห่งเป็นอย่างดี. |
You know, I'm starting to pick up on a little language barrier thing going here. | คุณรู้ว่าฉันเริ่มที่จะรับในสิ่งที่อุปสรรคทางภาษาน้อยไปที่นี่ |
I don't like it when you use language like that. | ฉันไม่อยากให้เธอพูดหยาบแบบนั้น |
"in the Jews' language, 'Hear ye the words of the great king. | "ในภาษาฮิบรูว่า '"จงฟังพระวจนะของพระมหากษัตริย์ |
I have not been accustomed to such language as this. | ฉันไม่ชินกับภาษาพวกพื้นๆ นี่ |
Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary | |
---|---|
平易 | [píng yì, ㄆㄧㄥˊ ㄧˋ, 平易] amiable (manner); unassuming; written in plain language; easy to take in |
阿拉伯文 | [Ā lā bó wén, ㄚ ㄌㄚ ㄅㄛˊ ㄨㄣˊ, 阿拉伯文] Arabic (language & writing) |
人造语言 | [rén zào yǔ yán, ㄖㄣˊ ㄗㄠˋ ㄩˇ ㄧㄢˊ, 人造语言 / 人造語言] artificial language; constructed language |
缅文 | [Miǎn wén, ㄇㄧㄢˇ ㄨㄣˊ, 缅文 / 緬文] Burmese (language, esp. written) |
缅甸语 | [miǎn diàn yǔ, ㄇㄧㄢˇ ㄉㄧㄢˋ ㄩˇ, 缅甸语 / 緬甸語] Burmese (language of Myanmar) |
口语 | [kǒu yǔ, ㄎㄡˇ ㄩˇ, 口语 / 口語] colloquial speech; spoken language; vernacular language; slander; gossip |
死文字 | [sǐ wén zì, ㄙˇ ㄨㄣˊ ㄗˋ, 死文字] dead language; indecipherable script |
外文系 | [wài wén xì, ㄨㄞˋ ㄨㄣˊ ㄒㄧˋ, 外文系 / 外文係] department of foreign languages; modern languages (college department) |
话 | [huà, ㄏㄨㄚˋ, 话 / 話] dialect; language; spoken words; speech; talk; words; conversation; what sb said |
语 | [yǔ, ㄩˇ, 语 / 語] dialect; language; speech |
精灵文 | [jīng líng wén, ㄐㄧㄥ ㄌㄧㄥˊ ㄨㄣˊ, 精灵文 / 精靈文] Elvish (language of elves) |
英语热 | [Yīng yǔ rè, ㄩˇ ㄖㄜˋ, 英语热 / 英語熱] English language fan; enthusiasm for English |
世界语 | [shì jiè yǔ, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄩˇ, 世界语 / 世界語] Esperanto (language); world language |
可扩展标记语言 | [kě kuò zhǎn biāo jì yǔ yán, ㄎㄜˇ ㄎㄨㄛˋ ㄓㄢˇ ㄅㄧㄠ ㄐㄧˋ ㄩˇ ㄧㄢˊ, 可扩展标记语言 / 可擴展標記語言] extensible markup language (XML) |
失迎 | [shī yíng, ㄕ ˊ, 失迎] failure to meet; (humble language) I'm sorry not to have come to meet you personally |
芬兰语 | [Fēn lán yǔ, ㄈㄣ ㄌㄢˊ ㄩˇ, 芬兰语 / 芬蘭語] Finnish (language); suomen kieli |
谦辞 | [qiān cí, ㄑㄧㄢ ㄘˊ, 谦辞 / 謙辭] humble word; term of humility; modesty language in Chinese grammar, intended to honor one's interlocutor |
超文本标记语言 | [chāo wén běn biāo jì yǔ yán, ㄔㄠ ㄨㄣˊ ㄅㄣˇ ㄅㄧㄠ ㄐㄧˋ ㄩˇ ㄧㄢˊ, 超文本标记语言 / 超文本標記語言] hypertext markup language; HTML |
雅思 | [yǎ sī, ㄧㄚˇ ㄙ, 雅思] IELTS (International English Language Testing System) |
文 | [wén, ㄨㄣˊ, 文] language; culture; writing; formal; literary; gentle; surname Wen |
语支 | [yǔ zhī, ㄩˇ ㄓ, 语支 / 語支] language branch |
语文老师 | [yǔ wén lǎo shī, ㄩˇ ㄨㄣˊ ㄌㄠˇ ㄕ, 语文老师 / 語文老師] language and literature teacher |
语族 | [yǔ zú, ㄩˇ ㄗㄨˊ, 语族 / 語族] language branch |
语种 | [yǔ zhòng, ㄩˇ ㄓㄨㄥˋ, 语种 / 語種] language type (in a classification) |
语系 | [yǔ xì, ㄩˇ ㄒㄧˋ, 语系 / 語系] language system |
语素 | [yǔ sù, ㄩˇ ㄙㄨˋ, 语素 / 語素] language component; morpheme; individual characters (making up an expression) |
语言誓约 | [yǔ yán shì yuē, ㄩˇ ㄧㄢˊ ㄕˋ ㄩㄝ, 语言誓约 / 語言誓約] language pledge (to speak only the target language in a language school) |
普通话 | [pǔ tōng huà, ㄆㄨˇ ㄊㄨㄥ ㄏㄨㄚˋ, 普通话 / 普通話] Mandarin (common language); Putonghua (common speech of the Chinese language); ordinary speech |
比划 | [bǐ huà, ㄅㄧˇ ㄏㄨㄚˋ, 比划 / 比劃] to gesture; to use sign language; to gesticulate; to engage in body combat or martial art; to come to blows |
今译 | [jīn yì, ㄐㄧㄣ ㄧˋ, 今译 / 今譯] modern language version; modern translation; contemporary translation |
本族语 | [běn zú yǔ, ㄅㄣˇ ㄗㄨˊ ㄩˇ, 本族语 / 本族語] native language; mother tongue |
母语 | [mǔ yǔ, ㄇㄨˇ ㄩˇ, 母语 / 母語] native language; mother language |
场 | [cháng, ㄔㄤˊ, 场 / 場] threshing floor; classifier for events and happenings; classifier for number of some languages and actions (cannot be followed by a noun) |
文饰 | [wén shì, ㄨㄣˊ ㄕˋ, 文饰 / 文飾] to polish a text; rhetoric; ornate language; to use florid language to conceal errors; to gloss over |
巴利 | [Bā lì, ㄅㄚ ㄌㄧˋ, 巴利] Pali, language of Theravad Pali canon; Barry (name); Gareth Barry (1981-), English footballer |
巴利文 | [Bā lì wén, ㄅㄚ ㄌㄧˋ ㄨㄣˊ, 巴利文] Pali, language of Theravad Pali canon |
半岛 | [bàn dǎo, ㄅㄢˋ ㄉㄠˇ, 半岛 / 半島] peninsula; Al Jazeera (Arabic-language news network) |
波斯语 | [Bō sī yǔ, ㄅㄛ ㄙ ㄩˇ, 波斯语 / 波斯語] Persian (language); Farsi |
噶 | [gá, ㄍㄚˊ, 噶] phonetic ga (used in rendering Tibetan and Mongolian sounds); Tibetan Ge: language of Buddha; dialect final particle (esp. in Yunnan) similar to 了 le |
脏话 | [zāng huà, ㄗㄤ ㄏㄨㄚˋ, 脏话 / 髒話] profanity; obscene language; speaking rudely |
Japanese-English: EDICT Dictionary | |
---|---|
2か国語;2ヶ国語;二ヶ国語;二か国語;二カ国語;二ヵ国語;二箇国語 | [にかこくご, nikakokugo] (adj-no) bilingual; in two languages |
ALT | [エイエルティー, eierutei-] (exp) assistant language teacher (technical term used in Japan); ALT |
C言語 | [シーげんご, shi-gengo] (n) {comp} C programming language |
HTML | [エッチティーエムエル, ecchitei-emueru] (n) {comp} hypertext markup language; HTML |
LL | [エルエル, erueru] (n) language laboratory; LL |
NULLPO | [ぬるぽ;ヌルポ;なるぽ;ナルポ, nurupo ; nurupo ; narupo ; narupo] (n) (uk) (sl) null pointer exception (in the Java programming language) |
TOEFL | [トーフル;トフル;トッフル, to-furu ; tofuru ; toffuru] (n) Test of English as a Foreign Language; TOEFL |
XML | [エックスエムエル, ekkusuemueru] (n) {comp} (See HTML) extensible markup language; XML |
アイスランド語 | [アイスランドご, aisurando go] (n) Icelandic (language) |
アイルランド語 | [アイルランドご, airurando go] (n) Irish (language); Erse |
アクセント | [, akusento] (n) (1) accent (in language); (2) stress; highlight; accent; (P) |
アゼルバイジャン語 | [アゼルバイジャンご, azerubaijan go] (n) Azerbaijani (language) |
アセンブラ言語 | [アセンブラげんご, asenbura gengo] (n) {comp} assembly language |
アセンブリー言葉 | [アセンブリーことば, asenburi-kotoba] (n) assembly language |
アセンブリー言語 | [アセンブリーげんご, asenburi-gengo] (n) assembly language |
アセンブリ言語 | [アセンブリげんご, asenburi gengo] (n) {comp} assembly language |
アッシリア語 | [アッシリアご, asshiria go] (n) Assyrian (language) |
アナトリア語派 | [アナトリアごは, anatoria goha] (n) Anatolian (branch of languages) |
アフリカーンス語 | [アフリカーンスご, afurika-nsu go] (n) Afrikaans (language) |
アプリケーション開発言語 | [アプリケーションかいはつげんご, apurike-shon kaihatsugengo] (n) {comp} application development language |
アプル | [, apuru] (n) {comp} A Programming Language; APL |
アフロアジア語族 | [アフロアジアごぞく, afuroajia gozoku] (n) Afro-Asiatic (family of languages) |
アボリジニ語 | [アボリジニご, aborijini go] (n) Aboriginal languages (of Australia) |
アムハラ語 | [アムハラご, amuhara go] (n) Amharic (language) |
アメスラン | [, amesuran] (n) Ameslan; American sign language |
アメリカインディアン諸語 | [アメリカインディアンしょご, amerikaindeian shogo] (n) Amerindian languages |
アメリカサインランゲージ | [, amerikasainrange-ji] (n) American Sign Language; ASL |
アラビア語 | [アラビアご, arabia go] (n) Arabic (language) |
ありんすことば | [, arinsukotoba] (n) language used by the harlots of the Yoshiwara red light district during the Edo period |
アルゴル | [, arugoru] (n) (1) {comp} Algol (algorithmic language); (2) Algol (beta perseus) |
アルタイ語族 | [アルタイごぞく, arutai gozoku] (n) Altaic (family of languages) |
アルバニア語 | [アルバニアご, arubania go] (n) Albanian (language) |
アルバニア語派 | [アルバニアごは, arubania goha] (n) Albanian (branch of languages) |
アルメニア語 | [アルメニアご, arumenia go] (n) Armenian (language) |
アルメニア語派 | [アルメニアごは, arumenia goha] (n) Armenian (branch of languages) |
イタリア語 | [イタリアご, itaria go] (n) Italian (language) |
イタリック語派 | [イタリックごは, itarikku goha] (n) Italic (branch of languages) |
イラン語 | [イランご, iran go] (n) Iranian (any member language of the Iranian language branch, esp. Farsi) |
イラン語派 | [イランごは, iran goha] (n) Iranian (branch of languages) |
インタープリタ型言語 | [インタープリタかたげんご, inta-purita katagengo] (n) {comp} interpretive language |
Japanese-English: COMDICT Dictionary | |
---|---|
アセンブラ言語 | [アセンブラげんご, asenbura gengo] assembly language |
アセンブリ言語 | [アセンブリげんご, asenburi gengo] assembly language |
インタプリータ型言語 | [インタプリータかたげんご, intapuri-ta katagengo] interpretive language |
インタプリタ型言語 | [インタプリタかたげんご, intapurita katagengo] interpretive language |
オブジェクト指向言語 | [オブジェクトしこうげんご, obujiekuto shikougengo] object- oriented language |
コボル | [こぼる, koboru] COBOL, Common Business Oriented Language |
コンパイラー言葉 | [コンパイラーことば, konpaira-kotoba] compiler language |
コンピュータ依存言語 | [コンピュータいぞんげんご, konpyu-ta izongengo] computer-dependent language |
ジョブ制御言語 | [ジョブせいぎょげんご, jobu seigyogengo] Job Control Language, JCL |
データ定義言語 | [データていぎげんご, de-ta teigigengo] Data Definition Language, DDL |
データ操作言語 | [データそうさげんごう, de-ta sousagengou] Data Manipulation Language, DML |
データ操作言語 | [データそうさげんごう, de-ta sousagengou] DML, Data Manipulation Language |
データ記述言語 | [データきじゅつげんごう, de-ta kijutsugengou] Data Description Language (DDL) |
データ記述言語 | [データきじゅつげんごう, de-ta kijutsugengou] DDL, Data Description Language |
ドキュメンテーション言語 | [ドキュメンテーションげんご, dokyumente-shon gengo] documentary language |
ハイパメディア及び時間依存情報の構造化言語 | [ハイパメディアおよびじかんいぞんじょうほうのこうぞうかげんご, haipamedeia oyobijikan'izonjouhounokouzoukagengo] Hypermedia, Time-based Structuring Language, HyTime |
ピクチャ | [ぴくちゃ, pikucha] picture (e.g. in programming languages) |
プログラミング言語 | [プログラミングげんご, puroguramingu gengo] programming language |
プログラム言語 | [プログラムげんご, puroguramu gengo] programming language |
ページ記述言語 | [ページきじゅつげんご, pe-ji kijutsugengo] Page Description Language, PDL |
マシン語 | [マシンご, mashin go] machine language |
ランゲージラボラトリー | [らんげーじらぼらとりー, range-jiraboratori-] language laboratory, LL |
中間言語 | [ちゅうかんげんご, chuukangengo] intermediate language |
中間言語レベル | [ちゅうかんげんごレベル, chuukangengo reberu] intermediate language level |
人工言語 | [じんこうげんご, jinkougengo] artificial language |
会話型言語 | [かいわけいげんごう, kaiwakeigengou] conversational language |
低水準言語 | [ていすいじゅんげんご, teisuijungengo] low-level language |
公開文言語 | [こうかいぶんげんご, koukaibungengo] public text language |
区域 | [くいき, kuiki] area (e.g. in programming languages) |
原始言語 | [げんしげんご, genshigengo] source language |
名礼 | [なふだ, nafuda] label (e.g. in programming languages) |
問合せ言語 | [といあわせげんご, toiawasegengo] query language |
問題向き言語 | [もんだいむきげんご, mondaimukigengo] problem-oriented language |
手続き型言語 | [てつづきがたげんご, tetsudukigatagengo] procedural language |
手続き形言語 | [てつづきがたげんご, tetsudukigatagengo] procedural language |
指令言語 | [しれいげんご, shireigengo] command language, control language |
日本語版 | [にほんごはん, nihongohan] Japanese (language) version, edition |
構造化照会言語 | [こうぞうかしょうかいげんご, kouzoukashoukaigengo] SQL, Structured Query Language |
機械語 | [きかいご, kikaigo] machine language, machine word, computer word |
決定性言語 | [けっていせいげんごう, ketteiseigengou] deterministic language |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาเขียน English: written language |
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาในวรรณกรรม English: literary language |
日本語 | [にほんご, nihongo] Thai: ภาษาญี่ปุ่น English: Japanese language |
言語 | [げんご, gengo] Thai: ภาษา English: language |
Thai-English-French: Volubilis Dictionary 20.1 | |
---|---|
อวัจนะภาษา | [n.] (awatjanaphā) EN: non verbal language FR: |
บาลี | [n. prop.] (Bālī) EN: Pali ; Pali language FR: pali [m] ; langue pali [f] |
ด่า | [v.] (dā) EN: abuse ; swear ; curse ; call names ; use abusive language FR: jurer ; blasphémer ; injurier ; maudire |
เอกภาพของภาษา | [n. exp.] (ēkkaphāp kh) EN: language autonomy FR: |
ห้องปฏิบัติการทางภาษา | [n. exp.] (hǿng patiba) EN: language laboratory FR: laboratoire de langues [m] |
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย | [n. exp.] (itthiphon k) EN: influence of foreign languages on Thai FR: |
จัตวา (–๋) | [n.] (jattawā) EN: jattawa (fourth tonal accent in the Thai language) FR: jattawa [m] (quatrième accent tonal du thaï) |
กำเนิดของภาษา | [n. exp.] (kamnoēt khø) EN: origin of languages FR: origine des langues [f] |
กำเนิดของภาษาไทย | [n. exp.] (kamnoēt khø) EN: origin of Thai language FR: origine de la langue thaïe [f] |
กัมพุชพากย์ | [n.] (kamphutchap) EN: Khmer language FR: langue khmère [f] ; khmer [m] |
การใช้ภาษาไทย | [n. exp.] (kān chai ph) EN: Thai usage ; Thai language usage FR: |
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān khīen p) EN: computer programming language FR: |
การพัฒนาภาษา | [n. exp.] (kān phattha) EN: language development FR: |
การเรียนภาษา | [n. exp.] (kān rīen ph) EN: language learning FR: apprentissage des langues [m] |
การสอนภาษา | [n. exp.] (kān søn phā) EN: language teachning FR: enseignement des langues [m] |
การันต์ (–์) | [n.] (kāran) EN: [mark placed over the final consonant of the a word in Thai language to indicate that it is mute] ; [silent consonant] FR: [symbole de consonne muette] ; [consonne silencieuse] |
คำผรุสวาท | [n. exp.] (kham pharus) EN: obscenity ; abusive language FR: |
คำพูดสัปดน | [n. exp.] (kham phūt s) EN: obscene language ; dirty language ; foul language ; indecent language FR: langage obscène [m] |
คำทับศัพท์ | [n. exp.] (kham thapsa) EN: word borrowed (in the Thai language) FR: mot d'emprunt (de la langue thaïe) [m] ; mot emprunté [m] |
คำอุจาดลามก | [n. exp.] (kham ujāt l) EN: obscene language FR: |
คำหยาบ | [n. exp.] (kham yāp) EN: vulgar language ; coarse language ; coarse word ; obscene word ; lewd word FR: gros mot [m] ; grossièreté [f] ; vulgarité [f] ; paroles grossières [fpl] ; propos orduriers [mpl] |
คำหยาบคาย | [n. exp.] (kham yāpkhā) EN: vulgar language FR: gros mot [m] ; grossièreté [f] ; vulgarité [f] ; paroles grossières [fpl] |
ก ข ไม่กระดิกหู | [X] (khø khø mai) EN: one who has learned the language but still can't read and write FR: |
ก ข ไม่กระดิกหู | [n.] (kø khø maik) EN: [one who has learned the language but still can't read and write] FR: |
กระบวนการเรียนรู้ภาษา | [n. exp.] (krabūankān ) EN: language learning process FR: processus d'apprentissage de la langue [m] |
หลักภาษาไทย | [n. exp.] (lak phāsā T) EN: fundamentals of teh Thai language FR: bases de la langue thaïe [fpl] |
มลายู | [n.] (Malāyū) EN: Malay language FR: malais [m] ; langue malaise [f] |
มิจฉาวาจา | [n.] (mitchāwājā) EN: wrong saying ; wrong language ; wrong speech FR: |
มอญ | [n. prop.] (Møn ) EN: Mon Language FR: |
นักภาษาโบราณ | [n. exp.] (nak phāsā b) EN: ancient language official FR: |
นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย | [n. exp.] (nak wētchas) EN: speech pathologist ; audiologist ; speech-language pathologist FR: |
นิรุกติ ; นิรุตติ | [n.] (nirukti ; n) EN: language ; word FR: mot [m] |
นิรุตติปฏิสัมภิทา | [n.] (niruttipati) EN: discrimination of language ; knowledge of philological analysis ; analytical knowledge of the language (with regard to the true meaning and the Law) FR: |
ออกภาษา | [v.] (økphāsā) EN: play on a foreign language FR: |
ปากเบา | [v.] (pākbao) EN: be able to learn language at a very tender age ; learn quickly to speak FR: |
ปาลี | [n. prop.] (Pālī ) EN: Pali ; Pali language FR: pali [m] ; langue pali [f] |
ผรุสวาท | [n.] (pharusawāt ) EN: obscene words ; obscene language ; vulgar words ; curses ; abusive language FR: grossièretés [fpl] |
ภาษา | [n.] (phāsā) EN: language ; speech ; tongue ; lingo FR: langue [f] ; langage [m] ; idiome [m] ; jargon [m] ; parler [m] ; ramage [m] (fig.) |
ภาษาแอสเซมบลี้ | [n. exp.] (phāsā aētse) EN: assembly language FR: langage assembleur [m] |
ภาษาอัลกอล | [n. prop.] (phāsā Alkøl) EN: Algol language FR: Langage Algol [m] |
German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary | |
---|---|
algorithmische Programmiersprache | {f}algorithmic language |
Alternativsprache | {f}alternative language |
Assemblersprache | {f} [comp.]assembler language; assembly language |
Sprachunterricht | {m}instruction in a language |
Umgangssprache | {f}colloquial language |
Kommandosprache | {f}command language |
Datenbearbeitungssprache | {f} [comp.]data manipulation language |
Datenbeschreibungssprache | {f} [comp.]data description language |
Kenntnis | {f} (anderer Sprachen)familiarity (with other languages) |
Sprachgefühl | {n}feeling for language |
Wirts-Programmsprache | {f} [comp.]host language |
Auftragssteuersprache | {f}JCL : job control language |
Fremdsprachenkenntnisse | {pl}knowledge of foreign languages |
Landessprache | {f}language of the country; national language |
Schriftsprache | {f}literary language |
Muttersprache | {f}native language; native tongue; first language |
Zeitungssprache | {f}newspaper language |
Zielsprache | {f}object language; target language |
Beschimpfungen | {pl}offensive language |
Amtssprache | {f}official language |
Philologe | {m}teacher (scholar) of language and literature; philologist [Am.] |
Philologie | {f}study of language and literature; philology [Am.] |
Klartext | {m}plain language |
Abfragesprache | {f}query language; retrieval language |
Datenbankabfragesprache | {f}query language |
Romanistik | {f}(studies of) Romance languages and Literature |
romanisch | {adj} (Sprache)Romanic (language) |
Fachsprache | {f}shop language |
Gebärdensprache | {f}sign language; mimicry |
Fehler | {m} | einen Fehler machen | Fehler über Fehler machen | auf einen Fehler hinweisen | absoluter Fehler | additiver Fehler | aktiver Fehler | behebbarer Fehler | gefährlicher Fehler | nicht zu behebender Fehler | passiver Fehler | relativer Fehler [math.] | sprachlicher Fehler | systematischer Fehler | ungefährlicher Fehler | vorübergehender Fehler | zufälliger Fehlermistake; error; fault | to make a mistake | to make mistake after mistake | to point out a mistake | absolute error | accumulated error | active fault | correctable error | dangerous fault | unrecoverable error | passive fault | relative error | language mistake | systematic error | harmless fault | transient error | random error |
Ausgangssprache | {f}source language |
Fachsprache | {f}special language |
Kultursprache | {f}language of the civilized world |
Sprachkurs | {m}language course |
Sprachschule | {f}language school |
Sprachübersetzung | {f}language translation |
Übersetzungsprogramm | {n}language processor |