English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
compute | (n.) การคำนวณ Syn. camputation |
compute | (vi.) คำนวณ |
compute | (vt.) คำนวณ Syn. calculate, measure, reckon |
compute | (vt.) ใช้คอมพิวเตอร์ |
compute | (vi.) ใช้คอมพิวเตอร์ |
computer | (n.) ผู้คำนวณ |
computer | (n.) เครื่องคอมพิวเตอร์ |
computer disk | (n.) จานแม่เหล็ก (สำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์) See also: แผ่นแม่เหล็ก |
computerize | (vt.) ทำด้วยคอมพิวเตอร์ |
computerized | (adj.) ซึ่งรับส่งข้อมูลด้วยการใช้ตัวเลข Syn. numerical |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
compute | (คัมพิวทฺ') {computed,computing,computes} vt.,vi. คำนวณ,ประมาณการ,นับ. n. การคำนวณ., See also: computability n. ดูcompute computable adj. ดูcompute, Syn. calculate,estimate,determine,count |
computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์,เครื่องคำนวณ,ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
computer aided instructio | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน |
computer aided manufactur | การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
computer aided software e | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์ |
computer aided system eng | วิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย |
computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education |
computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ |
computer audit | การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการตรวจสอบการประมวลผลเพื่อความถูกต้องทางบัญชี |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm |
computer hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์เซียนคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์จนเชี่ยวชาญ บางทีเรียกว่า เซียนคอมพิวเตอร์ หรือนักเลงคอมพิวเตอร์ |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ |
computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามคำสั่ง เช่น อ่านข้อมูล นำข้อมูลไปเก็บ นำข้อมูลมาบวก ลบ ฯ เป็นต้น แล้วได้ผลตามที่ต้องการ |
computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้ |
computer system | ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง หรือหนึ่งชุด ซึ่งประกอบด้วย 1. หน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น แป้นพิมพ์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (cetral processing unit) 3. หน่วยแสดงผล (output unit) เช่น จอภาพ เป็นต้น |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computer network | ข่ายงานคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงระบบการนำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง หรือเครื่องปลายทาง (terminal) หลาย ๆ เครื่องมาทำงานร่วมกัน โดยอาจใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน เช่น สื่อนำข้อมูลเข้า/ออก เครื่องพิมพ์ โมเด็ม (modem) เป็นต้น การทำงานเป็นเครือข่ายจะทำให้ดึงข้อมูลจากกันและกันมาใช้ หรือใช้ร่วมกันได้ |
computerese | (สคัมพิวทะริซ) n. ภาษารหัสคอมพิวเตอร์ นักคอมพิวเตอร์หมายถึงคำศัพท์หรืออาจเป็นสำนวนต่าง ๆ ที่นักคอมพิวเตอร์มักใช้ และเป็นที่รู้จักในวงการนักคอมพิวเตอร์ด้วยกัน เช่น garbage ปกติแปลว่าขยะ นักคอมพิวเตอร์นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ |
computerized | (คัมพิว'เทอไรซดฺ) adj. ซึ่งใช้หรือคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ |
computer output on microf | ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120,000 ตัวอักษรต่อวินาที |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย |
computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ |
computer vendor group | กลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ |
computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส |
computer-aided instructio | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction |
computer-aided translatio | การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ |
computer-assissted instru | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction |
computerize | (-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See also: computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ (Manual) ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
compute | (n) คำนวณ,นับ,ประมาณการ |
computer | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์,เครื่องคำนวณ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
compute | คำนวณ [ดู calculate] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computer | คอมพิวเตอร์, คณิตกรณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer architecture; architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer audit | การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine code และ machine instruction code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer hacker; hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์, เซียนคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer language | ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer network | ข่ายงานคอมพิวเตอร์, เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์, การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer-aided instruction; computer-assisted instruction (CAI) | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer-aided translation (CAT) | การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอที) [มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computerize; computerise | ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computerized numerical control (CNC) | การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Computer | คอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer aided design | การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย [เศรษฐศาสตร์] |
Computer aided engineering | คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม [คอมพิวเตอร์] |
Computer Aided Instruction | การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Computer aided manufactur | คอมพิวเตอร์ช่วยการผลิต [คอมพิวเตอร์] |
Computer architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer crimes | อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer hackers | นักเจาะระบบคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer literacy | การรู้จักใช้คอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer network | เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Computer organization | โครงสร้างคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Computer programmers | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer science | คอมพิวเตอร์ศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Computer viruses | ไวรัสคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
บวกลบคูณหาร | (v.) compute See also: calculate Syn. คิดเลข, คำนวณ |
คอมพิวเตอร์ | (n.) computer Syn. สมองกล |
สมองกล | (n.) computer Syn. คอมพิวเตอร์ |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n.) computer language |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | (n.) computer program |
โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ | (n.) computer school |
ไวรัส | (n.) computer virus Syn. ไวรัสคอมพิวเตอร์ |
ไวรัสคอมพิวเตอร์ | (n.) computer virus |
นักคอมพิวเตอร์ | (n.) computerist |
CAD | (abbr.) การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบสิ่งต่างๆ เช่น สิ่งก่อสร้าง (คำย่อของ computer-aided design) |
M.C.S. | (abbr.) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิต (Master of Computer Science) |
mini | (n.) คำเรียกย่อของ miniskirt และ minicomputer |
PC | (abbr.) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (คำย่อ Personal Computer) |
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | (n.) personal computer Syn. เครื่องพีซี |
มินิคอมพิวเตอร์ | (n.) minicomputer |
เครื่องพีซี | (n.) personal computer |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer See also: personal computer |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer See also: personal computer |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer |
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
I don't have any computer skills | ฉันไม่มีทักษะทางคอมพิวเตอร์ |
I would really like to study computer | ฉันอยากเรียนคอมพิวเตอร์จริงๆ |
My computer was on the blink | คอมพิวเตอร์ของฉันเสีย/ใช้การไม่ได้ |
What are you doing on the computer? | คุณกำลังทำอะไรกับคอมพิวเตอร์นั่น? |
I'm gonna do some work on the computer | ฉันจะทำงานบางอย่างเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
I can only identify you although I compute a 65% probability that the man behind you is Dr. floyd. | ฉันเท่านั้นที่สามารถระบุตัวคุณ แม้ว่าฉันจะคำนวณความน่าจะ เป็นร้อยละ 65 ว่าคนที่อยู่ข้างหลังคุณคือดร. |
It must not even compute for you. | คงไม่สะทกสะท้านเลยละสินะ |
I no longer compute what's weird. | ฉันเลิกคิดไปนานแล้ว ว่าอะไรแปลกไม่แปลก |
Well, human brains can compute large sums very quickly-- even Hugh can do that-- but I want Christopher to be smarter. | สมองมนุษย์สามารถคำนวณ ผลรวมขนาดใหญ่ได้เร็วมาก แม้ว่าฮิวจ์จะทำได้ แต่ผม อยากให้คริสโตเฟอร์ฉลาดกว่านั้น |
And compute over 10,000 calculations by cosine, square root and lately Analytic Geometry. | และคำนวณมากกว่า 10,000 คำนวณโดยโคไซน์ รากที่สองและเมื่อเร็ว ๆ นี้ เรขาคณิตวิเคราะห์ |
I don't know. Our computer's shot. | ผมไม่รู้ คอมพิวเตอร์เราเสีย |
That license plate is like a rash all over the computer. | แผ่นป้ายทะเบียนนั้นเป็นเหมือนผื่นคันทุกแห่งหนบนคอมพิวเตอร์ |
And the computer on board the Discovery the HAL-9000, can it be reactivated? | และคอมพิวเตอร์ออ นบอร์ดดิสคัเฟอรีที่ ฮาล 9000 สามารถที่จะเปิดใช้ งาน? |
You're here to help us reactivate the Discovery and its computer systems because that is United States territory. | คุณอยู่ที่นี่เพื่อช่วยให้เราเปิดใช้ งาน ดิสคัเฟอรีและระบบ คอมพิวเตอร์ เพราะเห็นว่าเป็นดินแดนของ สหรัฐอเมริกา |
There are nine years of secrets inside including a sleeping computer who knows the answers. | มีเก้าปีของความลับอยู่ภายใน รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ของ การนอนหลับ ใครจะรู้คำตอบ |
We'll see if our computer brain surgeon and psychiatrist can put Hal back together again. | เราจะดูว่าศัลยแพทย์ คอมพิวเตอร์สมองของเราและ จิตแพทย์สามารถใส่ แฮล กลับมารวมกันอีกครั้ง ที่จะบอกความจริงกับคุณ |
The technical term is an H. Mobius loop, which can happen in advanced computers with autonomous goal-seeking programs. | ระยะทางเทคนิคเป็นห่วง แอช- ระบำ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ใน คอมพิวเตอร์ขั้นสูง กับโปรแกรมเป้าหมายที่กำลัง มองหาอิสระ |
Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary | |
---|---|
中介 | [zhōng jiè, ㄓㄨㄥ ㄐㄧㄝˋ, 中介] agent (computer) |
苹果电脑 | [píng guǒ diàn nǎo, ㄆㄧㄥˊ ㄍㄨㄛˇ ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ, 苹果电脑 / 蘋果電腦] Apple computer |
应用程式 | [yìng yòng chéng shì, ˋ ㄩㄥˋ ㄔㄥˊ ㄕˋ, 应用程式 / 應用程式] application; (computer) program |
联想 | [lián xiǎng, ㄌㄧㄢˊ ㄒㄧㄤˇ, 联想 / 聯想] associate; (abbr.) Lenovo (PRC computer company) |
绑扎 | [bǎng zhá, ㄅㄤˇ ㄓㄚˊ, 绑扎 / 綁紮] binding (computer science) |
桥接 | [qiáo jiē, ㄑㄧㄠˊ ㄐㄧㄝ, 桥接 / 橋接] bridging (in computer networks) |
缓冲器 | [huǎn chōng qì, ㄏㄨㄢˇ ㄔㄨㄥ ㄑㄧˋ, 缓冲器 / 緩衝器] buffer (computer science) |
线缆 | [xiàn làn, ㄒㄧㄢˋ ㄌㄢˋ, 线缆 / 線纜] cable; wire; cord (computer) |
计算机辅助设计 | [jì suàn jī fǔ zhù shè jì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 计算机辅助设计 / 計算機輔助設計] CAD computer-aided design |
计算器 | [jì suàn qì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄑㄧˋ, 计算器 / 計算器] calculator; calculating machine; computer |
机箱 | [jī xiāng, ㄐㄧ ㄒㄧㄤ, 机箱 / 機箱] case (computer) (lit. machine box) |
目录 | [mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ, 目录 / 目錄] catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents |
客户机 | [kè hù jī, ㄎㄜˋ ㄏㄨˋ ㄐㄧ, 客户机 / 客戶機] client (computer) |
代码 | [dài mǎ, ㄉㄞˋ ㄇㄚˇ, 代码 / 代碼] code (e.g. telephone area code); computer code (e.g. virus) |
程序设计 | [chéng xù shè jì, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 程序设计 / 程序設計] computer programming |
总线 | [zǒng xiàn, ㄗㄨㄥˇ ㄒㄧㄢˋ, 总线 / 總線] computer bus |
计算机 | [jì suàn jī, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ, 计算机 / 計算機] computer; calculator |
计算机制图 | [jì suàn jī zhì tú, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄓˋ ㄊㄨˊ, 计算机制图 / 計算機制圖] computer graphics |
计算机动画 | [jì suàn jī dòng huà, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄉㄨㄥˋ ㄏㄨㄚˋ, 计算机动画 / 計算機動畫] computer animation |
计算机工业 | [jì suàn jī gōng yè, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄍㄨㄥ ㄧㄝˋ, 计算机工业 / 計算機工業] computer industry |
计算机模式 | [jì suàn jī mó shì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄇㄛˊ ㄕˋ, 计算机模式 / 計算機模式] computer simulation |
计算机模拟 | [jì suàn jī mó nǐ, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄇㄛˊ ㄋㄧˇ, 计算机模拟 / 計算機模擬] computer simulation |
计算机比喻 | [jì suàn jī bǐ yù, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄅㄧˇ ㄩˋ, 计算机比喻 / 計算機比喻] computer metaphor |
计算机科学 | [jì suàn jī kē xué, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ, 计算机科学 / 計算機科學] computer science |
电脑辅助工程 | [diàn nǎo fǔ zhù gōng chéng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄍㄨㄥ ㄔㄥˊ, 电脑辅助工程 / 電腦輔助工程] computer aided engineering |
计算机网络 | [jì suàn jī wǎng luò, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ, 计算机网络 / 計算機網絡] computer network |
电脑网 | [diàn nǎo wǎng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄨㄤˇ, 电脑网 / 電腦網] computer network; Internet |
电脑网路 | [diàn nǎo wǎng lù, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄨㄤˇ ㄌㄨˋ, 电脑网路 / 電腦網路] computer network |
电脑系统 | [diàn nǎo xì tǒng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄒㄧˋ ㄊㄨㄥˇ, 电脑系统 / 電腦系統] computer system |
电脑病毒 | [diàn nǎo bìng dú, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄅㄧㄥˋ ㄉㄨˊ, 电脑病毒 / 電腦病毒] computer virus |
电脑辅助教材 | [diàn nǎo fǔ zhù jiào cái, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄐㄧㄠˋ ㄘㄞˊ, 电脑辅助教材 / 電腦輔助教材] computer-aided instruction |
映像管 | [yìng xiàng guǎn, ˋ ㄒㄧㄤˋ ㄍㄨㄢˇ, 映像管] CRT used in TV or computer monitor; picture tube; kinescope |
显像管 | [xiǎn xiàng guǎn, ㄒㄧㄢˇ ㄒㄧㄤˋ ㄍㄨㄢˇ, 显像管 / 顯像管] CRT used in TV or computer monitor; picture tube; kinescope |
光标 | [guāng biāo, ㄍㄨㄤ ㄅㄧㄠ, 光标 / 光標] cursor (computer) |
防毒 | [fáng dú, ㄈㄤˊ ㄉㄨˊ, 防毒] defense against poison; defense against poison gas; anti-narcotics measures; defense against computer viruses |
确定 | [què dìng, ㄑㄩㄝˋ ㄉㄧㄥˋ, 确定 / 確定] definite; certain; fixed; to fix (on sth); to determine; to be sure; to ensure; to make certain; to ascertain; to clinch; to recognize; to confirm; OK (on computer dialog box) |
桌上型电脑 | [zhuō shàng xíng diàn nǎo, ㄓㄨㄛ ㄕㄤˋ ㄒㄧㄥˊ ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ, 桌上型电脑 / 桌上型電腦] desktop computer |
开发环境 | [kāi fā huán jìng, ㄎㄞ ㄈㄚ ㄏㄨㄢˊ ㄐㄧㄥˋ, 开发环境 / 開發環境] development environment (computer) |
高德纳 | [Gāo Dé nà, ㄍㄠ ㄉㄜˊ ㄋㄚˋ, 高德纳 / 高德納] Donald Knuth (1938-) famous American computer scientist at Stanford University |
回车 | [huí chē, ㄏㄨㄟˊ ㄔㄜ, 回车 / 回車] enter (computer key) |
Japanese-English: EDICT Dictionary | |
---|---|
演算モード | [えんざんモード, enzan mo-do] (n) {comp} compute mode; operate mode |
@系 | [アットけい, atto kei] (n) (See ローグライク) roguelike (character display computer game) |
ABC | [エービーシー, e-bi-shi-] (n) (1) alphabet; ABCs; (2) American Broadcasting Company; ABC; (3) Audit Bureau of Circulations; ABC; (4) activity-based costing; ABC; (5) ABC World Airways Guide; (6) Atanasoff-Berry Computer; ABC |
CAD | [キャド, kyado] (n) {comp} computer-aided design; CAD |
CAI | [シーエーアイ, shi-e-ai] (n) {comp} computer-assisted instruction; CAI; computer-aided instruction |
CAM | [キャム, kyamu] (n) {comp} computer-aided manufacturing; CAM |
CG | [シージー, shi-ji-] (n) {comp} computer graphics; CG |
CGI | [シージーアイ, shi-ji-ai] (n) (1) {comp} common gateway interface; CGI; (2) computer generated imagery; CGI |
CISC | [シスク, shisuku] (n) {comp} complex instruction set computer; CISC |
COSMETS | [コスメッツ, kosumettsu] (n) {comp} Computer System for Meteorological Services; COSMETS |
CT | [シーティー, shi-tei-] (n) {comp} CT (computerized tomography) |
CTS | [シーティーエス, shi-tei-esu] (n) (1) {comp} computerized typesetting system (computerised); CTS; (2) cold type system; CTS |
PC | [ピーシー, pi-shi-] (n) {comp} PC; personal computer |
RISC | [リスク, risuku] (n) {comp} reduced instruction set computer; RISC |
アップル | [, appuru] (n) (1) apple; (2) {comp} Apple (computer company) |
アナコン | [, anakon] (n) (abbr) {comp} analog computer |
アナログコンピュータ | [, anarogukonpyu-ta] (n) {comp} analog computer |
アナログコンピューター | [, anarogukonpyu-ta-] (n) {comp} analog computer |
アナログ計算機 | [アナログけいさんき, anarogu keisanki] (n) {comp} analog computer |
アプリ | [, apuri] (n) (abbr) {comp} (computer) application; (P) |
アルファギーク;アルファ・ギーク | [, arufagi-ku ; arufa . gi-ku] (n) {comp} alpha geek (var. of computer nerd) |
アレイコンピュータ | [, areikonpyu-ta] (n) {comp} array computer |
イメージ(P);イメジ | [, ime-ji (P); imeji] (n,vs) (1) (See イメージアップ) (one's) image; (2) {comp} (computer) image; (3) mental image; impression; artist's impression; (P) |
ウイルスを排除する | [ウイルスをはいじょする, uirusu wohaijosuru] (exp,vs-i) (1) to fight off a virus; (2) {comp} to screen out computer viruses |
ウェアラブルパソコン | [, uearaburupasokon] (n) {comp} wearable personal computer |
エロ画 | [エロが, ero ga] (n) (abbr) (sl) (See エロ画像) erotic photograph (on a computer, mobile phone, etc.) |
エンカウント | [, enkaunto] (n) (1) (abbr) (sl) (See エンカウンター) an encounter (usu. in computer games) (wasei |
オープンコンピュータネットワーク | [, o-punkonpyu-tanettowa-ku] (n) {comp} Open Computer Network; OCN |
オールインワンPC | [オールインワンピーシー, o-ruinwanpi-shi-] (n) {comp} all-in-one Personal Computer |
オールインワンパソコン | [, o-ruinwanpasokon] (n) {comp} all-in-one personal computer |
オンラインコンピューター;オンラインコンピュータ | [, onrainkonpyu-ta-; onrainkonpyu-ta] (n) {comp} online computer |
オンラインコンピュータシステム | [, onrainkonpyu-tashisutemu] (n) {comp} online computer system |
オンライン科学コンピュータ | [オンラインかがくコンピュータ, onrain kagaku konpyu-ta] (n) {comp} online scientific computer |
キャプチャー;キャプチャ | [, kyapucha-; kyapucha] (n,vs) (1) capture; (n) (2) (キャプチャ only) (abbr) CAPTCHA; Completely Automated Public Turing test to tell Computers and Humans Apart |
ギャルゲ;ギャルゲー | [, gyaruge ; gyaruge-] (n) (abbr) {comp} computer game for men featuring beautiful women characters (usu. adult game) (wasei |
グヌー;グニュー | [, gunu-; gunyu-] (n) {comp} (also ニュー) GNU (computer OS, project, etc.) |
グリーンPC | [グリーンピーシー, guri-npi-shi-] (n) {comp} environmentally friendly computer (e.g. low power consumption) (wasei |
クリップボードコンピュータ | [, kurippubo-dokonpyu-ta] (n) {comp} clipboard computer |
ケース(P);ケイス(P) | [, ke-su (P); keisu (P)] (n) (1) case (e.g. receptacle, condition, event, legal action, letter style, etc.); (2) {comp} Computer-Aided Software Engineering; CASE; (P) |
ケルベロス | [, keruberosu] (n) {comp} Kerberos (computer security protocol) |
Japanese-English: COMDICT Dictionary | |
---|---|
演算モード | [えんざんモード, enzan mo-do] compute mode, operate mode |
アナコン | [あなこん, anakon] analog computer (abbr) |
アナログコンピューター | [あなろぐこんぴゅーたー, anarogukonpyu-ta-] analog computer |
アナログ計算機 | [アナログけいさんき, anarogu keisanki] analog computer |
アレイコンピュータ | [あれいこんぴゅーた, areikonpyu-ta] array computer |
ウィンドウ | [ういんどう, uindou] window (e.g in computer graphics) |
オフィスコンピューター | [おふぃすこんぴゅーたー, ofisukonpyu-ta-] office computer |
オフコン | [おふこん, ofukon] office computer (abbr) |
キャド | [きゃど, kyado] computer-aided design (CAD) |
キャム | [きゃむ, kyamu] Computer-Aided Manufacturing, CAM |
グリーンPC | [グリーンピーシー, guri-npi-shi-] environmentally friendly computer (e.g. low power consumption) |
ケース | [けーす, ke-su] Computer-Aided Software Engineering, CASE |
ゲストコンピュータ | [げすとこんぴゅーた, gesutokonpyu-ta] guest computer |
コム | [こむ, komu] COM, computer output microfilm system |
コンピューターアニメ | [こんぴゅーたーあにめ, konpyu-ta-anime] computer animation (abbr) |
コンピューターアニメーション | [こんぴゅーたーあにめーしょん, konpyu-ta-anime-shon] computer animation |
コンピューターアレルギー | [こんぴゅーたーあれるぎー, konpyu-ta-arerugi-] computer allergy |
コンピューターグラフィックス | [こんぴゅーたーぐらふぃっくす, konpyu-ta-gurafikkusu] computer graphics |
コンピュータージオグラフィックス | [こんぴゅーたーじおぐらふぃっくす, konpyu-ta-jiogurafikkusu] computer geographics |
コンピュータートモグラフィー | [こんぴゅーたーともぐらふぃー, konpyu-ta-tomogurafi-] computer tomography |
コンピュータービジョン | [こんぴゅーたーびじょん, konpyu-ta-bijon] computer-vision |
コンピューターマインド | [こんぴゅーたーまいんど, konpyu-ta-maindo] computer mind |
コンピューターユーティリティー | [こんぴゅーたーゆーていりていー, konpyu-ta-yu-teiritei-] computer utility |
コンピューター化 | [コンピューターか, konpyu-ta-ka] computerization |
コンピューター援用生産 | [コンピューターえんようせいさん, konpyu-ta-enyouseisan] computer-aided manufacture, CAM |
コンピューター援用設計 | [コンピューターえんようせっけい, konpyu-ta-enyousekkei] computer-aided design, CAD |
コンピュータウィルス | [こんぴゅーたういるす, konpyu-tauirusu] computer virus |
コンピュータグラフィクスインタフェース | [こんぴゅーたぐらふぃくすいんたふぇーす, konpyu-tagurafikusuintafe-su] Computer Graphics Interface |
コンピュータグラフィクスのメタファイル | [こんぴゅーたぐらふぃくす の めたふぁいる, konpyu-tagurafikusu no metafairu] Computer Graphics Metafile |
コンピュータグラフィックス | [こんぴゅーたぐらふぃっくす, konpyu-tagurafikkusu] computer graphics |
コンピュータゲーム | [こんぴゅーたげーむ, konpyu-tage-mu] computer game |
コンピュータサイエンス | [こんぴゅーたさいえんす, konpyu-tasaiensu] computer-science |
コンピュータソフトウェア | [こんぴゅーたそふとうえあ, konpyu-tasofutouea] computer-software |
コンピュータビジョン | [こんぴゅーたびじょん, konpyu-tabijon] computer-vision |
コンピュータプログラマー | [こんぴゅーたぷろぐらまー, konpyu-tapurogurama-] computer programmer |
コンピュータマイクログラフィックス | [こんぴゅーたまいくろぐらふぃっくす, konpyu-tamaikurogurafikkusu] computer micrographics |
コンピュータミュージック | [こんぴゅーたみゅーじっく, konpyu-tamyu-jikku] computer-music |
コンピュータリゼーション | [こんぴゅーたりぜーしょん, konpyu-tarize-shon] computerization |
コンピュータ依存言語 | [コンピュータいぞんげんご, konpyu-ta izongengo] computer-dependent language |
コンピュータ化 | [こんぴゅうたか, konpyuutaka] computerization |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
コンピュータ | [こんぴゅーた, konpyu-ta] Thai: คอมพิวเตอร์ English: computer |
パソコン | [ぱそこん, pasokon] Thai: เครื่องคอมพิวเตอร์ English: personal computer |
Thai-English-French: Volubilis Dictionary 20.1 | |
---|---|
บวกลบคูณหาร | [v. exp.] (būak-lop-kh) EN: compute ; calculate ; do sums FR: calculer ; faire des calculs |
คำนวณ | [v.] (khamnūan) EN: calculate ; compute ; estimate ; reckon ; figure ; count FR: calculer ; compter |
คณนะ | [v.] (khanana) EN: compute ; calculate ; count FR: calculer |
คณนา | [v.] (khananā = k) EN: compute ; calculate ; count FR: calculer |
คณานับ | [v.] (khanānap) EN: count ; calculate ; reckon ; compute FR: |
คิด | [v.] (khit) EN: calculate ; reckon ; compute ; count ; charge FR: calculer ; compter |
คิดเลข | [v.] (khitlēk) EN: calculate ; compute FR: calculer |
ประมาณ | [v.] (pramān) EN: estimate ; approximate ; calculate ; reckon ; compute roughly ; guess FR: estimer ; évaluer |
เด็กติดเกม | [n. exp.] (dek tit kēm) EN: child addicted to computer games FR: |
ด้วยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (dūay khømph) EN: by using computer ; computer based FR: par ordinateur |
เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (jaophanakng) EN: computer operator FR: |
จอคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (jø khǿmphiu) EN: computer screen FR: écran d'ordinateur [m] |
การจำลองแบบโดยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān jamløng) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [f] |
การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān jamløng) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [f] |
การแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān kaē pan) EN: computer problem solving FR: |
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān khīen p) EN: computer programming language FR: |
การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān kratham) EN: breach of computer legislation FR: |
เกมคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kēm khømphi) EN: computer game FR: jeu informatique [m] |
คณิตกรณ์ | [n.] (khanitkøn) EN: computer FR: calculateur [m] |
คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khanittasāt) EN: mathematics for computer FR: |
คลิกเมาส์ | [v. exp.] (khlik mao) EN: click (a computer mouse) FR: cliquer (la souris) |
คอมพ์ ; คอมฯ | [n. (abv)] (khøm = khǿm) EN: computer FR: ordinateur [m] ; ordi [m] (abrév., fam.) ; PC = P.C. [m] (abrév.) |
คอมพิวเตอร์ = ค็อมพิ้วเต้อร์ | [n.] (khǿmphiutoē) EN: computer FR: ordinateur [m] |
คอมพิวเตอร์ศึกษา | [n. exp.] (khǿmphiutoē) EN: computer education FR: enseignement informatique [m] |
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [n. exp.] (khǿmphiutoē) EN: personal computer FR: ordinateur individuel [m] ; ordinateur personnel [m] |
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khreūakhāi ) EN: computer network FR: réseau informatique [m] |
เครื่องคำนวณ | [n. exp.] (khreūang kh) EN: computer FR: ordinateur [m] |
เครื่องคอมพิวเตอร์ | [n.] (khreūang kh) EN: computer FR: ordinateur [m] |
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [n. exp.] (khreūang kh) EN: personal computer ; PC FR: ordinateur individuel [m] ; PC [m] |
เครื่องพิมพ์ | [n.] (khreūangphi) EN: printer ; computer printer FR: imprimante [f] |
ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khrū søn wi) EN: computer teacher FR: professeur d'informatique [m] |
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ | [adj.] (khūapkhum d) EN: computer-controlled FR: contrôlé par ordinateur |
ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khwāmrū dān) EN: computer knowledge FR: connaissances en informatique [fpl] |
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (laepthop kh) EN: laptop computer FR: ordinateur portable [m] ; laptop [m] (anglic.) |
เล่นเกมคอมพิวเตอร์ | [v. exp.] (len kēm khø) EN: play computer games FR: jouer à des jeux vidéo |
เล่นคอม | [v. exp.] (len khøm) EN: work with computer FR: travailler sur ordinateur |
เล่นคอมพิวเตอร์ | [v. exp.] (len khømphi) EN: work with computer FR: travailler sur ordinateur |
เมาส์ | [n.] (mao) EN: computer mouse ; mouse FR: souris d'ordinateur [f] ; souris [f] |
เมาส์คอมพิวเตอร์ | [n.] (mao khømphi) EN: computer mouse FR: souris d'ordinateur [f] |
เนคเทค | [org.] (Nēkthēk) EN: NECTEC (National Electronics and Computer Technology Center) FR: NECTEC [m] |
German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary | |
---|---|
Bordcomputer | {m} (Schiff)seaborne computer |
Abrechnungscomputer | {m}accounting computer |
Akkumulatorrechner | {m}accumulator computer |
Airbag-Steuergerät | {n} [auto]airbag computer |
Bordcomputer | {m} in Raum- oder Luftfahrzeugenairborne computer |
Cyberphobie | {f}; Angst vor Computerncyberphobia |
BIOS | {n}; Startprogramm für Computer [comp.]BIOS |
BIOS | {n}, Ein-/Ausgabe-System (Computer)BIOS : basic input/output system |
Bürocomputer | {m}business computer |
Gebührencomputer | {m}call charge computer |
Hauptrechner | {m} [comp.]central computer |
CNC : Computergestützte numerische Steuerung | {f}CNC : computer(ized) numerical control |
Computeranwendung | {f}computer application |
Computerausdruck | {m}computer printout |
Computerberechnung | {f}computer calculation |
Computerbetrug | {m}; Computerkriminalität |
Computerfreak | {m}computer freak; computer nerd |
Computergeneration | {f}computer generation |
Computerhersteller | {m}computer manufacturer |
Computerisierung | {f}computerization |
Computerkriminalität | {f}computer crime |
Computerland | {n}computerland |
Computernetzwerk | {n}computer network |
DV-Mitarbeiter | {pl}computer personnel |
Wirtschaftsinformatik | {f}computer science in economics |
Desktop-Publishing | {n}; computergestütztes PublizierenDTP : Desktop Publishing |
Dialogrechner | {m}interactive computer |
Digitalrechner | {m}digital computer |
Doppelrechner | {m} (zur Sicherung) [comp.]duplex computer |
EDV-Katalogisierung | {f}computer cataloguing |
EDV-Kenntnisse | {pl}computer literacy |
EDV-Verbuchung | {f}computer charging |
Lerncomputer | {m}educational computer |
Handheld-Computer | {m}; Computer im Taschenformat [comp.]hand-held computer |
Taschencomputer | {m}; Palmtop-Computer |
Hardware | {f} [comp.]; Computer-Teile |
Wirtsrechner | {m} [comp.]host computer; host processor |
Hybridrechner | {m}analog-digital computer |
Hybridrechner | {m}combined computer; hybrid computer |
Informatik | {f} | angewandte Informatikcomputer science; informatics; information science | applied computer science |