English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ฉบับ | (clas.) copy See also: issue |
ฉบับ | (n.) copy See also: issue, edition, version Syn. เล่มหนังสือ, แผ่นจดหมาย, แผ่นเอกสาร |
ฉบับร่าง | (n.) draft See also: early version, preliminary outline |
ฉบับร่าง | (adj.) draft See also: draught |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
adaptation | (แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตา, Syn. version, adjustment ###A. rigid |
autograph | (ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) ,สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง,ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน,เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n. |
bipartite | (ไบพาร์'ไททฺ) adj. ประกอบด้วย หรือแบ่งออกเป็นสองส่วน,แบบเดียวกัน 2 ฉบับ |
bulldog edition | n. หนังสือพิมพ์ฉบับตอนเช้า |
canonise | (แคน'นะไนซ) {canonized,canonised,canonizeingcanonising,canonizes,canonises} vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) ,ยกย่องว่าประเสริฐ,ถือว่าศักดิ์สิทธิ์,ถือว่าถูกต้องแท้จริง,จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz |
canonize | (แคน'นะไนซ) {canonized,canonised,canonizeingcanonising,canonizes,canonises} vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) ,ยกย่องว่าประเสริฐ,ถือว่าศักดิ์สิทธิ์,ถือว่าถูกต้องแท้จริง,จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz |
classical | (แคลส'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับแบบกรีกและโรมันโบราณ,ชั้นหนึ่ง,ดีเด่น,เป็นแนวหน้า,เกี่ยวกับวรรณคดีสมัยคลาสซิค,ชื่อเสียงโด่งดัง,เป็นมรดกตกทอดแต่โบราณ,เป็นแบบฉบับที่เชื่อถือได้, See also: classicality,classicalness n. -Conf. classic |
con | (คอน) 1. {conned,conning,cons} v. ต่อต้าน,แย้ง,เรียนรู้,ศึกษา,ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง,จำไว้,นำเรือ,ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน,การโต้เถียง,ผู้คัดค้าน,ผู้ลงบัตรคัดค้าน,นักโทษ,วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
copy | (คอพ'พี) n. สำเนา,ฉบับสำเนา,1เล่ม,1ฉบับ,1ชุด,เล่มตัวอย่าง vt.,vi. คัดลอก,ลอกแบบ,เลียนแบบ,เอาอย่าง,อัดสำเนา, Syn. reproduce,imitate ###A. prototype -Conf. facsimile |
copyhold | (คอพ'พีโฮลดฺ) n. กรรมสิทธิ์ที่ดินโดยมีหนังสือกรรมสิทธิ์ที่คัดลอกจากต้นฉบับของศาลที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อื่น,กรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก |
copyholder | (คอพ'พีโฮลเดอะ) n. ผู้มีกรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก,เครื่องยึดหนังสือ ผู้ช่วยคนตรวจปรุ๊ฟ |
copywriter | (คอพ'พีไรเทอะ) n. คนเขียนต้นฉบับ |
derivative | (ดีริฟ'วะทิฟว) adj.,n. (สิ่งที่,คำ) ซึ่งได้มาจากที่อื่น,เป็นอนุพันธุ์,ซึ่งแตกกิ่งสาขามา,ไม่ใช่ต้นฉบับ,อนุพันธุ์, Syn. derived |
draft | (ดราฟทฺ) {drafted,drafting,drafts} n. ต้นร่าง,ฉบับร่าง,การร่าง,การวาด,การสเก็ตช์ภาพ,กระแสลมในห้องหรือช่องว่าง,เครื่องเป่าลม,เครื่องควบคุมกระแสลม,การเกณฑ์ทหาร,การลากหรือดึงของ,สิ่งที่ถูกลากหรือดึง,สัตว์ที่ใช้ลากของ,แรงลากหรือแรงดึง,ตั๋วแลกเงิน,การเอาออก,กา |
draught | (ดราฟทฺ) n. การลาก,การดึง,การถอน,การดื่ม,การสูบ,การสูด,ปริมาณของเหลวที่ดื่มหนึ่งครั้ง,ปริมาณยาที่ใช้ต่อครั้ง,จำนวนปลาที่จับได้,กระแสลม,หมากรุกยุโรป (ส่วน'checkers'เป็นหมากรุกอเมริกา) ,ต้นร่าง,ฉบับร่าง,ตั๋วแลกเงิน,การเกณฑ์ทหาร. vt. ร่าง,ยกร่าง,ออกแบบ,เกณฑ์ท |
desktop publishing | การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน |
dtp | (ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน |
duplicate | (ดิว'พละเคท) n. จำลอง,สำเนา,ฉบับเทียบ,โรเนียวฉบับคู่,ฉบับก๊อบปี้,สิ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง. -Phr. ((n duplicate เป็นสำเนา 2 ใบ,เป็นคู่,เป็นครั้งละ2ฉบับ) . vi. ทำสำเนา,ถ่ายสำเนา,โรเนียว,อัดสำเนา,จำลอง,ทำซ้ำ. -adj. คู่,สองเท่า,เหมือนกันทุกอย่าง. คำศัพท์ย่ |
edition | (อิดิช,'เชิน) n. ฉบับพิมพ์,ฉบับพิมพ์ครั้งที่,การพิมพ์,สิ่งที่คล้ายกันมาก,คนที่คล้ายกันมาก,การเป็นบรรณาธิการ |
exponent | (อิคซฺโพ'เนินทฺ) n. ผู้อธิบาย,ผู้ชี้แจง,สิ่งที่อธิบาย,ตัวแทน,แบบฉบับ,สัญลักษณ์,ผู้สนับสนุน,เลขกำลังที่อยู่เหนือสัญลักษณ์, Syn. spokeswoman |
gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา |
hammurabi | (ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก |
hammurapi | (ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก |
handwriting | (แฮนฺด'ไรทิง) n. ลายมือ,สิ่งที่เขียนด้วยมือ,ต้นฉบับที่เขียนด้วยมือ |
issue | (อิช'ชิว) n. การปล่อยออกมา,การออกคำสั่ง,การตีพิมพ์ออกมา,สิ่งที่ปล่อยออก,สิ่งตีพิมพ์,จำนวนหรือปริมาณที่ปล่อยออกมาแต่ละครั้ง,ฉบับ,ชุด,คราว,ปัญหา,ผลที่เกิดขึ้น,บุตร,ทายาท,ทางออก,ผลผลิต,ผลกำไร. -Phr. (at issue ที่กำลังเป็นปัญหา ที่กำลังถกเถียงกัน) vt.,vi. ไหล |
lobby | (ลอบ'บี) {lobbied,lobbying,lobbies} n. ห้องพักแขก,ระเบียง,ห้องพักผ่อนของสภา,ห้องรับรอง,กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt.,vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb |
magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่,รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ |
mail-merge | การผสานจ่าหน้า (จดหมาย) หมายถึง กระบวนการในการนำชื่อและที่อยู่ของผู้รับซึ่งเก็บรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลไว้ มาผนวกกับจดหมายที่ทำเป็นต้นแบบ จดหมายแต่ละฉบับที่สั่งพิมพ์ออกมา ก็จะมีชื่อผู้รับแต่ละคน จากรายชื่อที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลรายชื่อนั้น ใช้ในการทำจดหมายเวียน โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) เกือบทุกโปรแกรมจะต้องมีคำสั่งให้ทำงานประเภทนี้ได้ |
manuscript | (แมน'นิวสคริพทฺ) n.,adj. ต้นฉบับ,หนังสือเอกสาร จดหมายหรืออื่น ๆ ที่เขียนด้วยมือ,การเขียนด้วยมือ,ซึ่งเขียนด้วยมือ |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ |
old testament | n. พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับเก่าหรือเล่มต้นของคริสต์ศาสนา |
original | (อะริจ'จิเนิล) adj.,n. แรกเริ่ม,ต้นตอ,ต้นฉบับ,เดิม,ซึ่งมีมาแต่เดิม,เป็นราก,เป็นฐาน,ใหม่,สด,เป็นครั้งแรก,เป็นของแท้ ,มูลเหตุ,รากฐาน |
pocket book | n. หนังสือฉบับกระเป๋า |
progenitor | (โพรเจน'นิเทอะ) n. บรรพบุรุษ,ต้นตระกูล,ปฐมาจารย์,รากเง่า,ต้นฉบับ, Syn. forefather |
quadruplicate | (โควดรู'พละคิท) n.,v. (ทำ) สำเนา4 ฉบับ,4คน (อัน,ชิ้น...) ,คุณด้วย4, See also: quadruplication n., Syn. make fourfold |
recension | (รีเซน'เชิน) n. ฉบับปรับปรุงใหม่,การปรับปรุงใหม่,การแก้ไขเพิ่มเติม |
revised edition | n. ฉบับแก้ไขปรับปรุง |
revision | (รีวิส'เชิน) n. การปรับปรุงแก้ไข,ฉบับปรับปรุงแก้ไข,กระบวนการปรับปรุงแก้ไข,การชำระใหม่, See also: revisional, adj. revisionary adj., Syn. redaction,updating |
revision history | ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมหมายถึง ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมแต่ละรุ่นตามลำดับ เช่น ประวัติการปรับปรุงโปรแกรม Adobe Illustrator จากฉบับ 1.0 ถึงฉบับ 3.2 ว่า ฉบับใดปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง อย่างนี้เป็นต้น |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
autograph | (n) ลายเซ็น,ลายมือ,ต้นฉบับ |
copy | (n) ฉบับคัดลอก,ต้นฉบับ,สำเนา,การลอกเลียนแบบ,การก๊อบปี้ |
copywriter | (n) คนเขียนต้นฉบับ,คนคิดคำโฆษณา |
counterpart | (n) สำเนา,ฉบับเทียบ,ของคู่กัน,สิ่งที่เสริมกัน,สิ่งที่คล้ายกัน |
draft | (n) ฉบับร่าง,การเกณฑ์ทหาร,การสเก็ตภาพ,ใบสั่งจ่ายเงินในต่างประเทศ |
draught | (n) การลาก,การดึง,กระแสลม,ตั๋วแลกเงิน,ฉบับร่าง |
duplicate | (adj) มีสำเนา,มีสองฉบับ,สองเท่า,ซ้ำ,เหมือนกัน |
edition | (n) การพิมพ์ครั้งหนึ่งๆ,ฉบับพิมพ์ครั้งที่,จำนวนพิมพ์ครั้งที่ |
example | (n) ตัวอย่าง,แบบอย่าง,แบบฉบับ,อุทาหรณ์ |
exponent | (n) ผู้ชี้แจง,ผู้อธิบาย,ตัวแทน,แบบอย่าง,แบบฉบับ,สัญลักษณ์ |
facsimile | (n) สำเนา,ฉบับก๊อบปี้ |
issue | (n) การออกไป,ปัญหา,ผลลัพธ์,ผลประโยชน์,การส่งออกไป,รุ่น,ชุด,ฉบับ |
manuscript | (n) ต้นฉบับ |
norm | (n) มาตรฐาน,แบบฉบับ,แบบแผน,รูปแบบ,ค่าเฉลี่ย |
original | (adj) ดั้งเดิม,แรกเริ่ม,เป็นราก,เป็นต้นฉบับ |
pattern | (n) กระสวน,แบบฉบับ,แบบแผน,หุ่น,ลวดลาย,ตัวอย่าง,แบบเสื้อ |
typify | (vt) ทำเป็นแบบอย่าง,ทำเครื่องหมาย,ทำเป็นแบบฉบับ |
progenitor | (n) ต้นตระกูล,บรรพบุรุษ,ครู,ผู้เบิกทาง,ต้นฉบับ |
revision | (n) การแก้ไขใหม่,การทบทวน,การปรับปรุงแก้ไข,ฉบับปรับปรุงใหม่ |
script | (n) ตัวเขียน,ต้นฉบับ,ลายมือ,ต้นร่าง |
soul | (n) จิตใจ,วิญญาณ,คน,บุคคล,แก่นสาร,แบบฉบับ |
text | (n) หัวข้อ,ต้นฉบับ,ตัวหนังสือ,แบบเรียน,เนื้อหา,ใจความ |
translation | (n) การแปล,การแปลง,ฉบับแปล,การถอดความ,การย้าย |
volume | (n) หนังสือ,ฉบับ,ปริมาตร,เล่ม,ปริมาณ,ชุดแผ่นเสียง |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
abridged edition | ฉบับตัดย่อ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
apocrypha | ฉบับเคลือบแคลง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
canon | ฉบับแท้ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
digest | ฉบับย่อ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unabridged edition | ฉบับไม่ตัดย่อ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
variorum edition | ฉบับมีนัยวิเคราะห์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
codicil | พินัยกรรมฉบับแก้ไขพินัยกรรมฉบับเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
counterpart | คู่ฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
hard copy; hardcopy | ๑. สำเนาถาวร, ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [มีความหมายเหมือนกับ printout] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
indenture | หนังสือสำคัญที่ทำขึ้นเป็นคู่ฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
manuscript | ๑. เอกสารตัวเขียน๒. ต้นฉบับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
original | ต้นฉบับ, ต้นกำเนิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
release | ๑. ปล่อย ๒. ฉบับที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sic | ตามต้นฉบับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
soft copy: softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
source | ต้นฉบับ, ต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
source code | รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
version | ๑. รุ่น๒. แบบ๓. ฉบับ๔. ชุด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Adaptation | ฉบับดัดแปลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Back issue | ฉบับล่วงเวลาคำว่าฉบับล่วงเวลา (Back issue) หมายถึง วารสารฉบับพิมพ์ในรูปแบบตัวเล่มที่เป็นฉบับเก่า ไม่ใช่ฉบับปัจจุบันที่สำนักพิมพ์ตีพิมพ์หรือผลิตออกมา |
Copy | ฉบับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Enlarge edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Enlargement | ฉบับขยายตัวพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Expurgated edition | ฉบับตัดทอน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Inclusive edition | ฉบับรวมนิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Limited editions | ฉบับพิมพ์จำกัดจำนวน [TU Subject Heading] |
Modernized version | ฉบับถอดความ [TU Subject Heading] |
Pirated editions | ฉบับละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] |
Reprint edition | ฉบับพิมพ์ซ้ำ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Revised edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Supplement | ฉบับเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abridged dictionary | พจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Activity | กัมมันตภาพ, การสลายของนิวไคลด์กัมมันตรังสีต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ เบ็กเคอเรล คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Anthology | หนังสือรวมเรื่องAnthology หมายถึง หนังสือรวมเรื่องหรือส่วนที่ตัดตอนออกมาจากงานเขียนของผู้แต่งคนเดียวหรือ ผู้แต่งหลาย ๆ คนที่คัดเลือกมาสำหรับการจัดพิมพ์ในฉบับเดียวหรือในชุดเดียว ดังนั้น จึงมีเนื้อหาหลาย ๆ เรื่องรวมอยู่ในเล่มเดียวกัน โดยไม่ได้มีเนื้อหาต่อเนื่องกันเลย เช่น หนังสือรวมบทความ หนังสือรวมงานวิจัย หนังสือรวมเรื่องสั้น เป็นต้น หนังสือรวมเรื่องมักถูกจำกัดที่รูปแบบของวรรณกรรมหรือประเภทของหนังสือ (เช่น เรื่องสั้น บทละคร ร้อยกรอง) หรือประเภทของผู้แต่ง ในบัตรรายการ อาจลงรายการจำแนก (Analytical entry) ให้กับงานเขียนที่จัดพิมพ์ในแบบหนังสือรวมเรื่อง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบ หรือค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์แบบรวมเรื่องได้ ส่วนรายการออนไลน์ งานเขียนของผู้แต่งแต่ละบุคคลจะจัดทำรายการอยู่ในรายการบรรณานุกรม (Bibliographic record) ในเนื้อหาที่สามารถค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้คำสำคัญในการสืบค้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Concise dictionary | พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Continuation | การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้ การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้ ส่วนใหญ่เกิดที่สหรัฐอเมริกาโดยที่ส่วนข้อขอถือสิทธิต้องเหมือนต้นฉบับเดิม [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Drawing | รูปภาพแสดงถึงการประดิษฐ์, รูปภาพแสดงถึงการประดิษฐ์ มักประกอบในเอกสารการยื่นขอรับสิทธิบัตรของแต่ละฉบับ ส่วนใหญ่เป็นการประดิษฐ์ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า สูตรทางเคมี [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Maturity | วุฒิภาวะการบรรลุความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ด้วยความเจริญสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของบุคคล ที่พัฒนาอย่างเต็มที่จนบรรลุถึงขั้นภาวะนั้น ๆ ตามศักยภาพของบุคคลแต่ละคน เรียบเรียงและขยายความจากพจนานุกรมศัพท์จิตวิทยาฉบับราชบัณฑิตยสถาน [สุขภาพจิต] |
Catchword | คำนำทางคำนำทาง (Catchword) คือ คำหรือบางส่วนของคำที่พิมพ์เป็นตัวหนาหรือตัวพิมพ์ใหญ่ไว้ที่ด้านบนของคอลัมน์หรือของหน้าในพจนานุกรมหรือสารานุกรม โดยเป็นคำซ้ำกับคำที่ปรากฎเป็นคำแรกและ/หรือเป็นคำสุดท้ายในคอลัมน์หรือบนหน้ากระดาษ ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรนำทาง (Catch letters) แต่แทนที่จะเป็นตัวอักษร ก็ระบุคำนั้นทั้งคำในต้นฉบับตัวเขียนในยุคกลางและในยุคต้น ๆ ของการพิมพ์หนังสือ จะระบุคำหรือบางส่วนของคำที่ปรากฎที่ส่วนล่างของหน้าสุดท้ายของกระดาษที่พับเรียงกัน 1 ยก (ประกอบด้วยกระดาษ 24 แผ่น) และพิมพ์คำแรกที่ปรากฎในหน้าแรกของกระดาษในยกต่อไป ช่วยให้ผู้เย็บเล่มจัดเรียงลำดับหน้าหนังสือได้ถูกต้อง และเพื่อให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นเริ่มต้นด้วยคำใดสิ้นสุดด้วยคำใด บางทีในหนังสือสารานุกรมจะระบุคำนำทางไว้ในหน้าหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าหน้านั้นเป็นเรื่องใด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Gazetteer | อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายว่า หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อทางภูมิศาสตร์ในท้องถิ่นต่างๆ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร ทั้งนี้มีลักษณะคล้ายพจนานุกรม แต่เป็นการรวบรวมชื่อและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ต่างๆ เช่น ชื่อเมือง ชื่อภูเขา ชื่อแม่น้ำ ชื่อป่าไม้ หรือชื่อสถานที่สำคัญ ตลอดจนข้อมูลทั้งทางกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม การปกครอง และประวัติความเป็นมา และความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมภาพแผนที่ และภาพประกอบอื่นๆ |
Handbook | หนังสือคู่มือพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมาย "คู่มือ" ว่า หมายถึง สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง [1] |
Manuscript | ต้นฉบับตัวเขียนManuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Microfilm | ไมโครฟิล์มพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายคำว่า ไมโครฟิล์ม ว่าหมายถึง ฟิล์มถ่ายรูปขนาดเล็กมากใช้สำหรับถ่ายบันทึกภาพของสิ่งต่างๆ ให้มีขนาดย่อส่วนลงมากๆ เพื่อสะดวกแก่การเก็บรักษาไว้ และสามารถนำมาฉายเป็นภาพนิ่งขนาดขยายบนจอได้ [1] |
Pocket book | พ็อกเกตบุ๊ก, หนังสือฉบับกระเป๋าเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความ เพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก (5x7 นิ้ว) เช่นหนังสือนวนิยาย หนังสือคู่มือ เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป๋า หรือ Pocket Book ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Myth | เทพปกรณัมเทพปกรณัม (Myth) คือ เรื่องที่แสดงให้เห็นถึงเหตุการณ์และเรื่องราวในบรรพกาลเกี่ยวกับพื้นโลก ท้องฟ้าและพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ โดยมีเทพเจ้าเป็นผู้ควบคุมปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งรูปร่างลักษณะของเทพเจ้าจะเหมือนกับมนุษย์ทั่วไป แต่เป็นมนุษย์ที่อมตะ คือ เป็นผู้ที่ไม่ตายและมีพลังอำนาจทางเวทมนต์คาถาและมีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เทพปกรณัมจึงเป็นนิทานเกี่ยวกับเทพเจ้า เทพธิดาประจำถิ่น ประจำเผ่าพันธุ์ ตามความเชื่อของแต่ละสังคม เช่นเรื่องพระอินทร์ พระอิศวร พระราหู เป็นต้น สำหรับเรื่องเทพปกรณัมนี้อาจเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากสำหรับเด็กโดยเฉพาะเด็กเล็ก ๆ จนถึงอายุ 7-8 ขวบ ส่วนเด็กอายุ 9-14 ปี ควรได้อ่านเทพปกรณัมฉบับดัดแปลง เพราะโตพอที่จะเข้าใจเรื่องราวอันสลับซับซ้อนและเป็นพื้นฐานนำไปสู่ความเข้าใจเกี่ยวกับมหากาพย์และนิทานวีรบุรุษต่อไป |
Papyrus | กระดาษปาปิรุสชาวอียิปต์โบราณใช้กระดาษปาปิรุส (Papyrus) ในการบันทึก เรื่องราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ วัสดุที่ใช้ทำกระดาษปาปิรุสนี้ ชาวอียิปต์ได้มาจากการนำเอาต้นปาไปรัส (คล้ายต้นอ้อ) ซึ่งมีมากแถบลุ่มแม่น้ำไนล์ นำมาลอกเอาเยื่อบาง ๆ ประกบกันหลาย ๆ ชั้น และทำเป็นแผ่นกระดาษขึ้นมา แผ่นกระดาษเหล่านี้เมื่อนำเอาด้านข้างมาต่อกัน จะเป็นแผ่นที่ยาวออกทางด้านข้าง บางฉบับยาวถึง 40 หลา จากนั้นใช้หญ้ามาทุบปลายให้เป็นฝอยใช้แทนพู่กัน และต่อมาใช้ปล้องหญ้าตัดทำเป็นปากกา ส่วนหมึกที่ใช้ทำด้วยถ่านไม้บดละเอียดผสมกับยางไม้ การใช้กระดาษปาปิรุสได้แพร่หลายไปยังดินแดนต่าง ๆ ในแถบเมดิเตอร์เรเนียน ชาวอียิปต์ใช้การบันทึกลงในกระดาษปาปิรุส เมื่อจบการบันทึกก็จะม้วนแล้วมัดไว้เป็นม้วนๆ (Papyrus roll) โดยเรื่องราวที่บันทึกส่วนมากเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา การปกครอง และตำรายา |
Precipitation | น้ำฟ้าหรือหยาดน้ำฟ้า น้ำในลักษณะของเหลว หรือของแข็งรูปผลึก หรือของแข็งอสัณฐาน (amorphous) ซึ่งเกิดจากก้อนเมฆบนท้องฟ้าแล้วตกลงมายังพื้นโลก เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ ฯลฯ หรือน้ำที่ตกจากฟ้าลงสู่ดินไม่ว่าจะมีภาวะ เป็นน้ำหรือน้ำแข็ง เช่น ฝนละออง ฝนธรรมดา หิมะ และลูกเห็บ ลักษณะของหยาดน้ำฟ้าดังกล่าวแล้วแตกต่างไปจากเมฆ หมอก น้ำค้างแข็ง และไอน้ำ หรือน้ำแข็งในรูปอื่นๆ ตรงที่หยาดน้ำฟ้าจะต้องตกจากบรรยากาศถึงพื้นดิน การวัดปริมาณของหยาดน้ำฟ้าใช้เครื่องมือแบบเดียวกันกับการวัดฝน ถ้าหยาดน้ำฟ้าที่ตกลงมาในเครื่องวัดนั้นมีลักษณะเป็นน้ำแข็ง ต้องทำให้ละลายตัวเป็นน้ำเสียก่อนแล้วจึงวัดปริมาณของน้ำนั้นออกมาด้วยการ เทียบเป็นความสูง คือเป็นเซนติเมตร หรือเป็นนิ้วเช่นเดียวกับการวัดฝน (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2516) [สิ่งแวดล้อม] |
prototype | ต้นแบบ, ชิ้นงานที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับเพื่อสร้างชิ้นงานอื่นให้มีลักษณะเดียวกัน มีรูปทรง ขนาดสัดส่วน โครงสร้างที่แสดงรายละเอียด สามารถใช้งานได้ตามที่ออกแบบไว้ทุกประการ วัสดุที่นำมาสร้างต้นแบบอาจเป็นวัสดุที่ใช้จริง หรือวัสดุทดแทนก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
source code | รหัสต้นฉบับคำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
See "reference" | ดูที่เป็นรูปแบบหนึ่งของการรายการโยง (Cross reference) เพื่อแสดงการเชื่อมโยงคำที่ไม่ใช้เป็นคำหลักสู่คำที่ใช้เป็นคำหลักตามที่มีการกำหนดใช้ เพื่อควบคุมการใช้คำศัพท์ที่กำหนดให้เป็นมาตรฐาน เป็นแบบฉบับ และมีความสม่ำเสมอ ในการใช้รูปแบบของคำซึ่งเป็นจุดเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งนี้เพื่อให้การค้นหาและเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศมีประสิทธิภาพ |
Thermometer | เทอร์มอมิเตอร์ หรือเครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดอุณหภูมิ หรือระดับความร้อน เทอร์มอมิเตอร์ ชนิดธรรมดาประกอบด้วยหลอดแก้วปลายข้างหนึ่งตัน อีกข้างหนึ่ง ทำเป็นตุ้มบรรจุปรอทหรือแอลกอฮอล์ไว้ภายในหลอดแก้ว ตอนบน เหนือของเหลวเป็นสูญญากาศ ข้างหลอดแก้วมีขีดสเกลบอกอุณหภูมิ เป็นองศาไว้ เมื่อปรอทหรือแอลกอฮอล์ได้รับความร้อนขยายตัวขึ้นไปหยุดอยู่ ณ ที่ขีดสเกลใดก็อ่านอุณหภูมิที่จุดนั้นเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้กันโดยมากเป็นแบบ เซนติเกรด หรือเซลเซียส และฟาเรนไฮด์ แบบเซนติเกรด หรือเซลเซียส แบ่งสเกลระหว่างขีดเยือกแข็งและขีดเดือดเป็น 100 องศา ส่วนแบบฟาเรนไฮด์มีขีดเยือกแข็งอยู่ที่ 32 องศา และขีดเดือดอยู่ที่ 212 องศา (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2516) เทอร์โมมิเตอร์แบ่งออกได้เป็น 6 แบบ (แล้วแต่การสร้าง) คือ เทอร์โมมิเตอร์แบบบรรจุแก๊ส (gas themometer) เทอร์โมมิเตอร์แบบบรรจุของเหลวในแก้ว (liquid - in glass themometer) เทอร์โมมิเตอร์แบบเปลี่ยนรูปร่าง (deformation thermometer) เทอร์โมมิเตอร์ระบบไฟฟ้า (liquid - in - metal thermometer) เทอร์โมมิเตอร์แบบใช้เสียง (sonic thermometer) [สิ่งแวดล้อม] |
Unabridge dictionary | พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Unnumbered page | หน้ากระดาษที่ไม่มีเลขหน้าหน้ากระดาษของสิ่งพิมพ์ ต้นฉบับตัวเขียนหรือหน้ากระดาษที่ว่างเปล่าที่ไม่มีเลขหน้า จะไม่นับรวมอยู่ในการเรียงลำดับเลขหน้า ในการทำบัตรรายการของห้องสมุด จะไม่ให้ความสนใจกับลำดับของหน้าที่ไม่มีเลขหน้า และจะปัดทิ้งไปถ้าไม่ได้เป็นส่วนที่สำคัญของสิ่งพิมพ์หรือให้อ้างไว้ในหมายเหตุ (Note) แต่ถ้าต้องการสืบค้นจำนวนหน้าที่ไม่มีเลขหน้าให้แน่ใจ ให้นับจำนวนหน้าดังกล่าวและอธิบายไว้ในส่วนของลักษณะรูปร่าง (Physical description) เพื่อบันทึกในรายการบรรณานุกรมโดยใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ (ตัวอย่างเช่น [65] หน้า) ถ้าจำนวนหน้ายังไม่มีการสืบค้นให้แน่ใจให้ประมาณจำนวนหน้าดังกล่าวโดยใช้เลขอารบิคและเขียนว่า ca. นำหน้าโดยไม่ต้องใส่เครื่องหมายวงเล็บ (ตัวอย่างเช่น ca. 250 หน้า) ลำดับหน้าที่ไม่มีเลขหน้านี้จะไม่ถือเป็นเรื่องสำคัญสำหรับหน้าโฆษณา หน้าที่ว่างเปล่า ฯลฯ |
verify | ทวนสอบตรวจสอบว่าการดำเนินการเสร็จสิ้น และถูกต้องตามที่ต้องการ หรือตรวจสอบว่าการบันทึกข้อมูลถูกต้องตรงตามข้อมูลต้นฉบับ [คอมพิวเตอร์] |
Wind | ลม คือมวลอากาศซึ่งเคลื่อนที่ไปโดยมีความสัมพันธ์ กับพื้นผิวโลก หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือการเคลื่อนที่ของมวลอากาศใกล้ผิวพื้นโลกใน แนวนอนโดยเฉพาะ ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อใกล้ผิวโลกลมในแนวยืนจะ เกี่ยวข้องด้วยน้อยมาก หรือ หมายถึงอากาศที่เคลื่อนที่ไปบนผิวโลกตามแนวนอนในทุกทิศทางและด้วยความเร็ว ต่างๆ กัน ทิศทางของลมทรายได้จากทิศซึ่งลมพัดเข้าหาตัวตามที่กำหนดไว้บนเข็มทิศ เช่น ลมใต้ จะเป็นลมพัดมาจากทิศใต้เข้าหาตัวเราความเร็วลมมักจะวัดเป็นกิโลเมตรต่อ ชั่วโมงแต่ในทะเลมักจะวัดเป็นนอต การวัดทิศและความเร็วลมใช้การไหวของกิ่งไม้และฝุ่นที่ฟุ้งไปในอากาศซึ่งเป็น อาการของลมพัด (จากพจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2516) [สิ่งแวดล้อม] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
issue | (n.) ฉบับ See also: ชุด, จำนวน Syn. edition, copy, number |
version | (n.) ฉบับ See also: ชุด, เวอร์ชั่น Syn. issue |
cut | (n.) ฉบับตัดต่อ (ภาพยนตร์) |
abridgement | (n.) ฉบับย่อ |
abridgment | (n.) ฉบับย่อ |
arrange | (vt.) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
arrange | (vi.) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
arrangement | (n.) การปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
copy-edit | (vt.) แก้ไขต้นฉบับ See also: ปรับปรุงต้นฉบับ Syn. copyread, subedit |
copyist | (n.) ผู้ที่ทำงานคัดลอกจากต้นฉบับ |
copyread | (vt.) แก้ไขต้นฉบับ See also: ปรับปรุงต้นฉบับ Syn. copy-edit, subedit |
draft | (n.) เอกสารฉบับร่าง See also: ฉบับร่าง, ร่างจดหมาย, แผนร่าง |
file | (vt.) ส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์ See also: ส่งต้นฉบับไปที่สำนักข่าว |
library | (n.) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
lobby | (vi.) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง See also: วิ่งเต้น Syn. solicit, beg |
lobby | (vt.) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง See also: วิ่งเต้น |
manuscript | (n.) ต้นฉบับที่เขียนหรือพิมพ์ See also: ต้นสำเนา Syn. copy, original |
master | (n.) ต้นฉบับ Syn. original, file, copy |
original | (adj.) ซึ่งเป็นแบบฉบับ See also: ซึ่งเป็นต้นฉบับ, ที่เป็นอันแรก Syn. primary, first |
original | (n.) ต้นฉบับ See also: ของเดิม, สิ่งต้นแบบ, ต้นแบบ Syn. prototype, master |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
I expect to have a full report on my desk tomorrow | ฉันคาดว่าจะได้รับรายงานฉบับเต็มวางบนโต๊ะในวันพรุ่งนี้ |
I need you to sign off on this letter | ฉันอยากให้คุณช่วยลงชื่อบนจดหมายฉบับนี้ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
He wrote one letter a day for a year... 365 letters, but they all went unanswered. | เขาเขียนจดหมายวันละฉบับ / เป็นเวลาหนึ่งปี จดหมาย 365 ฉบับ แต่กลับไม่เคยได้จดหมายตอบกลับมา |
We have 5600 newspapers... magazines in over twenty-one different languages... with a combined readership of over 120 million. | เรามี หนังสือพิมพ์ ... นิตยสาร 5600 ฉบับ ที่แปลมากกว่า 21 ภาษา และผู้อ่านรวมกันมากกว่า 120 ล้านคน |
The chuck bass version of narnia? | นายก็เลยกลายเป็นชัค แบส ฉบับ นาร์เนีย หรอ? |
Two hours ago eseribí seven cards, I need you to delete... the memory of having done so. | สองชั่วโมงก่อนผมเขียนจดหมาย 7 ฉบับ ผมอยากให้คุณลบ ความทรงจำตอนเขียนให้ที |
Seven letters, two hours of memories. | จดหมาย 7 ฉบับ เมื่อตอนสองชัวโมงก่อน |
You sent 36 e-mails to Mr. Zuckerberg and received 16 e-mails in return, and this was the first time he indicated he was not happy. | คุณส่งอีเมล์ไปหาคุณซัคเคอร์เบิร์ก 36 ฉบับ และเขาตอบกลับ 16 ฉบับ, และนี่เป็นครั้งแรกที่เพิ่งจะรู้สึกไม่สบายใจ |
Then we have five magazine interviews and the 'Somehow Smart People' quiz show. | แล้วเราก็มีสัมภาษณ์หนังสือต่ออีก 5 ฉบับ ...และก็มีควิซโชว์ "คนฉลาดเค้าทำอย่างไร" |
Of course, 60 of 'em were ads trying to get me to buy something. | จริงๆ 60 ฉบับ เป็นโฆษณาหลอกขายของนะ |
I've co-authored two papers in notable peer-reviewed journals, and I'm close to figuring out why the Large Hadron Collider has yet to isolate the Higgs boson particle. | ฉันได้ร่วมแต่งในผลงาน ตีพิมพ์ 2 ฉบับ ในหนังสิอพิมพ์ที่มีคนอ่านอยู่บ้าง และฉันใกล้จะค้นพบแล้วว่าทำไม |
I'm thinking there is more to their relationship than six proprietary patents including one covering the production of thermal anti-neutrons... | ฉันคิดว่า มันคงมี ความสัมพันธ์อะไรที่มากกว่า \ สิทธิบัตร 6 ฉบับ รวมถึงการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ที่ใช้ สำหรับ เก็บกากนิวเคลียร์ |
These are six reports I wrote for the NSA, and six covert actions based on those reports. | พวกนี้เป็นรายงาน 6 ฉบับ ที่ผมเขียนให้หน่วยข่าวกรอง และ 6 ฉบับนี้ทำปลอมขึ้น โดยใช้ข้อมูลจากรายงานของผม |
You have 3 e-mails and seemed pretty Urgent... they are from your divorce attorney and I wanted to know if... | คุณมี อีเมลล์ 3 ฉบับ ที่เป็นเรื่องเร่งด่วน จากทนายหย่าร้างของคุณ และพวกเขาอยากรู้ว่า... |
There were a couple records for a board-and-care facility... | คือมันมีรายงาน 2 ฉบับ ของศูนย์พิทักษ์เด็ก |
The same John P. Ryan who filed three separate reports on traffic patterns in and around the Saabir Khan Bridge? | เป็นคนเดียวกับจอห์น พี. ไรอัน ผู้รายงานภาคสนาม 3 ฉบับ เรื่องทางเลือก รูปแบบยุทธวิธีทั้งในและนอกสะพานซาเบียร์คาห์น |
No. But my lawyers get told. | ฉบับ แต่ทนายความของฉันได้รับ การบอกว่า |
No. But we know it was drug related. | ฉบับ แต่เรารู้ มันเป็นยาเสพติดที่เกี่ยวข้อง |
The original... With Burgess Meredith. | ฉบับดั้งเดิม เบอเจสส์ เมเรดิธ |
No. The next of kin, think of them. | ฉบับต่อไปของญาติ, คิดว่าพวก เขา |
No... (VOICE BREAKING) "I did not kill her. | ฉบับที่ .. VOICE ทำลาย) ฉันไม่ได้ฆ่าเธอ. |
No. But, Frank, listen. Listen to me. | ฉบับที่ แต่แฟรงก์รายการ ฟังฉัน |
No... in the yard in Brooklyn. | ฉบับที่. ในบ้านใน Brooklyn. |
You want me to rat, right? - Yes. | ฉบับที่คุณต้องการให้ฉันหนู ใช่มั้ย? |
No. You are not allowed back in here, man! | ฉบับที่คุณยังไม่ได้รับอนุญาตให้ กลับเข้ามาที่นี่คน! |
No. You owe me five and a half. | ฉบับที่คุณเป็นหนี้ฉันห้าครึ่ง |
No. You don't use guns. | ฉบับที่คุณไม่ได้ใช้ปืน |
No. I actually feel pretty sick. | ฉบับที่จริงฉันรู้สึกไม่สบายสวย |
No. Must have slipped his mind. | ฉบับที่จะเล็ดรอดต้องใจของเขา |
No. Well, you get what it gives you. That's how this thing works. | ฉบับที่ดีที่คุณได้รับสิ่งที่จะช่วยให้คุณ นั่นเป็นวิธีที่งานนี้สิ่งที่ |
No. Much later, when he was a young man. | ฉบับที่มากต่อมาเมื่อ เขาเป็นชายหนุ่มคนหนึ่ง |
No. Still can't shift a thing down there. | ฉบับที่ยังไม่สามารถเปลี่ยน สิ่งที่ลงมี. |
What was that second piece of paper? | ฉบับที่สองคือสัญญาอะไร |
Third volume is unfinished. | ฉบับที่สามนั้นยังไม่เสร็จ |
The third is an exchange agreement allowing you to exchange the old shares for new shares, and then finally a voter holding agreement. | ฉบับที่สามเป็นข้อตกลงแลกเปลี่ยน ให้คุณแปลงหุ้นเก่าเป็นหุ้นใหม่ แล้วฉบับสุดท้ายก็เป็นข้อตกลง ในการออกเสียงที่ประชุม |
The one from the planetarium turned into a shrinky dink the second it hit the air. | ฉบับที่หอดูดาว กลายเป็นฝุ่นทันทีที่สัมผัสอากาศ |
No. Maybe from the winter storms. | ฉบับที่อาจจะมาจาก พายุฤดูหนาว |
No. He said on her birthday. | ฉบับที่เขากล่าวว่าในวันเกิดของเธอ |
No. A hooker would get the joke. | ฉบับที่เชื่องช้าจะได้รับเรื่องตลก |
No. The taxi was a Toyota Corolla. | ฉบับที่แท็กซี่ได้ โตโยต้า Corolla |
No. No, I don't think so. | ฉบับที่ไม่ฉันไม่คิดอย่างนั้น |
No. No, not at all. | ฉบับที่ไม่มี ไม่ได้ทั้งหมด |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
号 | [ごう, gou] Thai: ฉบับที่ English: issue |