English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
การทดสอบภาษาอังกฤษสำหรับคนต่างชาติผู้จะเข้าศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา | (n.) Test of English as Foreign Language See also: TOFEL |
การพัฒนาทางด้านภาษา | (n.) language development |
การพัฒนาภาษา | (n.) language development Syn. การพัฒนาทางด้านภาษา |
การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ | (n.) machine translation Syn. การแปลภาษาด้วยเครื่อง |
การแปลภาษาด้วยเครื่อง | (n.) machine translation |
ตันติภาษา | (n.) classical language See also: systematizied language |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler See also: collector, editor, translator, interpreter |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler |
ตัวแปลภาษา | (n.) compiler |
ต่างชาติต่างภาษา | (adj.) foreign See also: alien, outlandish, another nationalist or race Syn. ชาวต่างชาติ |
ต่างชาติต่างภาษา | (n.) foreigner See also: alien Syn. ชาวต่างชาติ |
นักภาษา | (n.) linguist |
นักภาษาศาสตร์ | (n.) linguist |
ผู้บอกภาษา | (n.) informant |
ภาษา | (n.) language See also: speech, words Syn. คำพูด |
ภาษากระเหรี่ยง | (n.) Karen Syn. ชาวกระเหรี่ยง |
ภาษากรีก | (n.) Greek Syn. คนกรีก, ชาวกรีก |
ภาษากลาง | (n.) interlingua See also: interlanguage, common language |
ภาษากาย | (n.) body language |
ภาษาคน | (n.) human speech See also: human tongue, human language Syn. ภาษามนุษย์ Ops. ภาษาสัตว์ |
ภาษาครีโอล | (n.) Creole |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n.) computer language |
ภาษาคำติดต่อ | (n.) agglutinative language |
ภาษาจีน | (n.) Chinese |
ภาษาจีนกลาง | (n.) Mandarin See also: the standard Chinese language Syn. จีนแมนดาริน |
ภาษาซี | (n.) C programming language |
ภาษาต้นฉบับ | (n.) source language |
ภาษาตลาด | (n.) informal language See also: slang Syn. ภาษาปาก |
ภาษาต่างประเทศ | (n.) foreign language |
ภาษาติดต่อคำ | (n.) agglutinative language Syn. ภาษาคำติดต่อ |
ภาษาถิ่น | (n.) dialect See also: regional speech, localism, vernacular Syn. ภาษาย่อย |
ภาษาทมิฬ | (n.) Tamil Syn. ชาวทมิฬ |
ภาษาท้องถิ่น | (n.) vernacular See also: dialect Syn. ภาษาถิ่น |
ภาษาทางการ | (n.) official language See also: standard language, formal language Syn. ภาษามาตรฐาน |
ภาษาทางการ | (n.) written language Syn. ภาษาสุภาพ |
ภาษาท่าทาง | (n.) body language |
ภาษาธรรมชาติ | (n.) natural language |
ภาษาบาลี | (n.) Pali |
ภาษาประจำชาติ | (n.) national language |
ภาษาปาก | (n.) colloquialism See also: colloquial expression, spoken language Syn. ภาษาพูด |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง,อันดับหนึ่ง,สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment,artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
afghan | (แอฟ' เกิน, -แกน) n. ชาวอัฟกานิสถาน, ภาษาอัฟแกน, พรมที่ถักด้วยมือชนิดหนึ่ง. -adj. เกี่ยวกับอัฟกานิสถาน, ชาวอัฟกานิสถาน |
afrikaans | (แอฟริคานซ' คาน) n. ภาษาหนึ่งของอาฟริกาใต้ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวฮอลลันดา., Syn. Taal |
afrikander | (แอฟริคาน ' เดอะ, -เนอะ) ชาวอาฟริกาที่พูดภาษา Afrikaans. ชื่อพันธุ์วัวแดงชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, Syn. Africander (astern, abaft) |
afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages |
albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย |
alemannic | (แอลลิแมน' นิค) ภาษาของ Alemanni, ซึ่งเกี่ยวกับ Alemanni |
algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) |
algonquian | (แอลกอง' เควน) n., adj. ตระกูลหนึ่งของภาษาอินเดียแดง, ผู้ที่พูดภาษานี้ |
algonquin | (แอลกอง' คิน. -ควิน) n., (pl. -quins) อินเดียแดงที่พูดภาษา Algonquin |
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม,สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ |
altaic | (แอลเท' อิค) n. กลุ่มของภาษาที่ประกอบด้วย Turkic, Mongolian, Tungusic, Korean. -adj. เกี่ยวกับ Altaic, เกี่ยวกับเทือกเขา Altai., Syn. Altaian |
american english | ภาษาอังกฤษที่ใชเในอเมริกา |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน |
americanist | (อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America) |
amerind | (แอม' เมอไรนดฺ) n. ชาวอินเดียแดงและเอสกิโมในอเมริกาเหนือและใต้, ภาษาท้องถิ่นของอินเดียแดง. -Amerindian adj., n. -Amerindic adj. |
amharic | (แอมฮา' ริค, อามฮา' ริค) n. ภาษาราชการของเอธิโอเปีย. -adj. เกี่ยวกับภาษานี้ |
anatolian | (แอนนะโท' เลียน) adj., n. เกี่ยวกับ Anatolia, ภาษาหรือประชาชนที่อยู่แถว Anatolia, Syn. Anatolic |
anglia | (แอง' เกลีย) n. ประเทศอังกฤษ (ภาษาลาติน) (England) |
anglian | (แอง' กลิอัน, แอง' กลิค) adj., n. เกี่ยวกับ Angles, ชนเผ่า Anglies. ชื่อกลุ่มภาษาอังกฤษโบราณ |
anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt.,vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt.,vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglo- french | (แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman |
anglo-indian | (แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน |
anglo-norman | (แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว |
anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ,คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ |
annamese | (แอนนะมีส' -มีซ) adj., n. (pl. -mese) เกี่ยวกับญวนหรือเวียตนาม, ชาวญวน (Annamite) ภาษาญวน (of Annam) |
ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ |
arabic | (อา'ราบิค) adj. เกี่ยวกับอาหรับหรืออาระเบีย. -n. ภาษาอาหรับ (of Arabia) |
arabist | (อา'ราบิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาหรือวัฒนธรรมของอาหรับ (expert on Arabia) |
aramaic | (อาระเม'อิค) n. ภาษาอาหรับของประเทศซีเรียและปาเลสไตน์ (Aramean, Aramaean) |
archaicism | (อาร'์ คีอิส'ึม,อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์,ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word,usage, etc.) |
archaism | (อาร'์ คีอิส'ึม,อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์,ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word,usage, etc.) |
argot | (อาร์'กอท) n. ศัพท์ลับ, ภาษาลับ, สัญญาณลับ -argotic adj. (idiomatic vocabulary) |
arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ |
arvo | (อาร์'โว) n. ตอนบ่าย (คำแสลงของภาษาออสเตรเลีย) (afternoon) |
aryan | (แอร'ระเยิน) n.,adj. ชาวอารยัน,ภาษาอาหรับ,เกี่ยวกับอารยัน., Syn. Arian |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
dialect | (n) ภาษาถิ่น,ภาษาพื้นเมือง,สำเนียงท้องถิ่น |
bilingual | (adj) พูดได้สองภาษา |
colloquial | (adj) เกี่ยวกับภาษาพูด |
colloquialism | (n) ภาษาปาก,ภาษาพูด,คำพูดธรรมดาๆ |
Egyptian | (adj) เกี่ยวกับประเทศอียิปต์,เกี่ยวกับชาติไอยคุปต์,เกี่ยวกับภาษาอียิปต์ |
euphemism | (n) การใช้ถ้อยคำสุภาพ,การใช้ภาษาสละสลวย |
euphuism | (n) การใช้ภาษาหรู,การใช้ภาษาสละสลวย |
grammar | (n) หลักไวยากรณ์,หลักภาษา |
grammatical | (adj) ตามไวยากรณ์,ตามหลักภาษา,เกี่ยวกับไวยากรณ์ |
Hebrew | (n) คนยิว,ชาวอิสราเอล,ภาษายิว,ภาษาอิสราเอล |
iambic | (n) จังหวะในโคลงภาษาอังกฤษ |
idiom | (n) โวหาร,สำนวน,ภาษาเฉพาะถิ่น,ลักษณะเฉพาะ |
intelligible | (adj) เข้าใจได้,เป็นภาษา,เข้าใจง่าย |
language | (n) ภาษา,ถ้อยคำ |
Latin | (adj) เกี่ยวกับภาษาลาติน |
linguist | (n) นักภาษาศาสตร์ |
linguistics | (n) ภาษาศาสตร์ |
mandarin | (n) ขุนนางจีน,เจ้าสัว,ส้มจีน,ตุ๊กตาจีน,ภาษาจีนกลาง |
parlance | (n) วิธีการพูด,ภาษาเฉพาะ,การพูดจา,สำนวน |
phraseology | (n) การใช้ถ้อยคำ,สำนวนโวหาร,ภาษาเฉพาะ |
polyglot | (adj) ที่รู้หลายภาษา,ที่พูดได้หลายภาษา |
polytechnic | (adj) เกี่ยวกับวิชาหลายประเภท,เกี่ยวกับการสอนหลายภาษา |
Sanskrit | (n) ภาษาสันสกฤต |
slang | (n) คำสแลง,ภาษาตลาด,ภาษาปาก,คำเฉพาะกลุ่ม |
Thai | (n) ภาษาไทย,คนไทย,ชาวไทย |
tongue | (n) ลิ้น,สำนวน,คารม,ภาษา,ลิ้นของรองเท้า,ลูกตุ้มระฆัง,หมุด |
vernacular | (adj) เกี่ยวกับภาษาพื้นเมือง,เกี่ยวกับภาษาเฉพาะหมู่คณะ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
Ada | (ภาษา)เอดา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ALGOL (ALgorithmic Language) | (ภาษา)อัลกอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
applicative language; functional language | ภาษาเชิงหน้าที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
argot | ภาษาเฉพาะกลุ่ม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assemble | แปลภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code (BASIC) | (ภาษา)เบสิก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bilingual | พูดได้สองภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
CAT (computer-aided translation) | ซีเอที (การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
class | คลาส [ใช้ในภาษาเชิงวัตถุ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
COBOL (Common Business Oriented Language) | (ภาษา)โคบอล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
colloquial language; colloquial | ภาษาปาก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computer language | ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer-aided translation (CAT) | การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอที) [มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dactylology; dactylophasia | การใช้ภาษามือ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dialect | ภาษาถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
FORTRAN (Formula Translation) | (ภาษา)ฟอร์แทรน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
high level language | ภาษาระดับสูง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
HTML (HyperText Markup Language | (ภาษา)เอชทีเอ็มแอล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
imperative language | ภาษาเชิงคำสั่ง [มีความหมายเหมือนกับ procedural language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
inarticulate | ๑. ไม่เป็นภาษา, ไม่เป็นคำพูด๒. ไม่มีข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
jargon | ภาษาเฉพาะวงการ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Java | (ภาษา)จาวา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
JCL (job control language) | เจซีแอล (ภาษาควบคุมงาน) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
job control language | ภาษาควบคุมงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
language | ภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
linguistic minority | ชนกลุ่มน้อยทางภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
linguistics | ภาษาศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
LISP (List Programming) | (ภาษา)ลิสป์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine language | ภาษาเครื่อง [มีความหมายเหมือนกับ computer language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine translation | การแปลภาษาด้วยเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
MAT (machine-aided translation) | เอ็มเอที (การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย) [มีความหมายเหมือนกับ computer-aided translation (CAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
metalanguage | อภิภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mother tongue; mother language | ภาษาแม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
multilingual | หลายภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
object language | ภาษาจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Pascal | (ภาษา)ปาสกาล, (ภาษา)พาสคัล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
patois | ภาษาชนบท [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Ad Valorem Tax | ภาษีตามมูลค่า ภาษีที่เรียกเก็บตามมูลค่าของสินค้านั้น คำว่า "Ad valorem" เป็นภาษาละติน แปลว่า ตามมูลค่า ใช้ในการคำนวณหาจำนวนภาษีที่ต้องจ่าย โดยจำนวนภาษีที่ต้องจ่าย จะมีอัตราต่อมูลค่าของสินค้านั้น ๆ คงที่ โดยปกติคิดเป็นอัตราร้อยละของมูลค่าสินค้านั้น ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Ada | เอดาภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกากำหนดให้ผู้รับเหมาเขียนโปรแกรมและงานประยุกต์ให้กับกระทรวงฯ ชื่อของภาษานี้ตั้งขึ้นตามนามของออกุสตา เอดา ไบรอน (Augusta Ada Byron) ผู้เป็นนักคณิตศาสตร์สตรีชาวอังกฤษ ภาษาเอดามีโครงสร้างพื้นฐานคล้ายกับภาษาปาสกาล แต่มีส่วนประกอบอื่นๆ เพิ่มเติมอีกมากทำให้กลายเป็นภาษาที่ใหญ่ [คอมพิวเตอร์] |
Alexia | อ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน [การแพทย์] |
Alphanumeric characters | อักขระอักษรเลขอักขระที่รวมทั้งตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z ตัวเลข 0-9 และอักขระพิเศษที่เราสามารถพิมพ์ด้วยแป้มพิมพ์ได้ ตลอดจนอักขระควบคุมต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์] |
American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] |
Aphasia | ภาวะวิปกติภาษา [TU Subject Heading] |
Arabic language | ภาษาอาหรับ [TU Subject Heading] |
Assembler | ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีโปรแกรมประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรมแต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
B (Computer program language) | บี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Baby Talk | ภาษาที่เด็กเล็กๆพูด [การแพทย์] |
BASIC (Computer program language) | เบสิก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Bilingual dictionary | พจนานุกรมสองภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Body language | ภาษากาย [TU Subject Heading] |
Bureau de Cooperation pour le Francais | สำนักงานความร่วมมือด้านภาษาฝรั่งเศส |
Cant | ภาษาของกลุ่มมิจฉาชีพ [TU Subject Heading] |
Clone | โคลน , วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้สร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเป็นดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตก็ได้ นอกจากนี้ยังอาจหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการดังกล่าวได้อีกด้วย คำว่า โคลน มีที่มาจากคำในภาษากรีกที่แปลง่า กิ่งก้าน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
COBOL (Computer program language) | โคบอล (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Comprehension | ความเข้าใจ,ความเข้าใจภาษา,การเข้าใจ,การทำความเข้าใจ [การแพทย์] |
Connotation (Linguistics) | ความหมายแฝง (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Creole dialects | ภาษาถิ่นลูกผสม [TU Subject Heading] |
Decade | ทศวรรษDecade (อ่านว่า เด๊ก-เขด) หมายถึงรอบ ๑๐ ปี เป็นวิธีการนับช่วงปีของฝรั่ง เช่น ทศวรรษ ๒๕๕๐ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ภาษาไทยใช้คำว่า “ทศวรรษ” ประกอบด้วยคำว่า “ทศ” (อ่านว่า ทด) หมายถึง “สิบ” กับคำว่า “วรรษ |
Bookplate | บรรณสิทธิ์ (หมายถึง ป้ายหรือตราประจำตัวของเจ้าของหนังสือ)Bookplates เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์บอกประวัติการครอบครองหนังสือ คำว่า Bookplates นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ส่วนประเทศอื่นๆ ในยุโรปจะเรียกว่า เอ็กซ์ ลิบรีส์ (ex libris) ในภาษาละติน แปลว่า "จากห้องสมุดของ..." แล้วต่อด้วยอักษรย่อชื่อ ตราประจำตัว หรือตราประจำตระกูลของผู้เป็นเจ้าของหนังสือ |
Century | ศตวรรษ“ศตวรรษ” ประกอบด้วยคำว่า “ศต” (อ่านว่า สะ-ตะ) หมายถึง “ร้อย” กับคำว่า “วรรษ” (อ่านว่า วัด) หมายถึง “ฝน” หรือ “ปี” คำว่า “ศตวรรษ” (อ่านว่า สะ-ตะ-วัด) ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “century” (อ่านว่า เซน-ชะ-รี หรือ เซ็น-จุ-รี ตามสำเนียงไทย) ซึ่งหมายถึงรอบ ๑๐๐ ปี โดยการนับเริ่มนับที่จุดใดนั้น มีความเห็นต่างกันเป็น ๒ อย่าง คือ กลุ่มหนึ่งถือว่าเริ่มจากปีที่ลงท้ายด้วย ๐๐ (อ่านว่า |
Coyote | โคโยตี้, โคโยตี้ หมายถึง การเต้นรำท่าทางยั่วยวนที่ผู้เต้นคิดท่าเอง และอาจหมายถึงผู้หญิงสาวที่หารายได้จากการเต้นรำดังกล่าวด้วยคำนี้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า c-o-y-o-t-e (ซี-โอ-วาย-โอ-ที-อี)อ่านออกเสียงไม่เหมือนกับในภาษาไทย คือแบบอังกฤษออกเสียงว่า คอยโย้ต หรือ แบบอเมริกันออกเสียงว่า คายโยตี้ ซึ่งมีความหมายว่า หมาป่าชนิดหนึ่ง คำนี้แรกเริ่มเป็นคำในภาษาอินเดียนแดงเผ่านะว้าทึ่ล (Nahuatl) ซึ่งอาศัยอยู่ในบริเวณประเทศเม็กซิโก ออกเสียงว่า คอ-ยอ-ตึ้ล แปลว่า สุนัขร้องเพลง ภาษาสเปนถิ่นเม็กซิโกยืมคำนี้มาใช้ และภาษาอังกฤษในอเมริกายืมมาจากสเปนอีกต่อหนึ่ง ความหมายก็เปลี่ยนไปจากสุนัขร้องเพลง เป็นหมาป่า เข้าใจว่าคำ โคโยตี้ ในภาษาไทยมาจากชื่อภาพยนตร์อเมริกันเรื่อง “Coyote Ugly” (โค-โย-ตี้-อั๊ก-ลี่) [ศัพท์วัยรุ่น] |
Dialect dictionary | พจนานุกรมภาษาถิ่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Discourse analysis | การวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความ [TU Subject Heading] |
Egyptian language | ภาษาอียิปต์ [TU Subject Heading] |
Emphasis (Linguistics) | การเน้นข้อความ (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Ethnic Group | กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา ประเพณีเหมือนกัน หรือหมายถึงกลุ่มเชื้อชาติก็ได้ [สิ่งแวดล้อม] |
FORTRAN | ภาษาฟอร์แทรนภาษาเีขียนโปรแกรมที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งพัฒนาโดย จิม แบคคัส แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ในช่วงปี 2497 - 2501 [คอมพิวเตอร์] |
fourth-generation languages( 4GLs ) | โฟร์ทจีแอล, กลุ่มของภาษาที่แตกต่างจากภาษาเชิงกระบวนความ ที่เน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้โดยง่าย ภาษาจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ ตัวอย่างของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิวแอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hindi language | ภาษาฮินดี [TU Subject Heading] |
HTML (Document markup language) | เอชทีเอ็มแอล (ภาษากำหนดเครื่องหมายเอกสาร) [TU Subject Heading] |
Indonesian language | ภาษาอินโดนีเซีย [TU Subject Heading] |
Java (Computer program language) | จาวา (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Khmer language | ภาษาเขมร [TU Subject Heading] |
Korean language | ภาษาเกาหลี [TU Subject Heading] |
Ephemera | ของสะสม Ephemera แปลว่า ของสะสมจากสิ่งที่ในตอนแรกผลิตมาเพื่อการใช้งานระยะสั้น ๆ เช่น ตั๋วรถโดยสารประจำทาง เป็นคำที่มาจากคำว่า ephemeron ในภาษากรีกหมายถึง "สิ่งที่อยู่ยาวนานไม่เกินหนึ่งวัน " ของสะสมเหล่านี้ ได้แก่ บัตรลงคะแนน บัตรเบสบอล ที่คั่นหนังสือ หนังสือการ์ตูน คูปอง รูปลอก ใบปลิว การ์ดอวยพร บัตรเชิญ ใบปลิว เแผ่นพับโฆษณา จุลสาร ของเล่นกระดาษ โปสเตอร์ รูปถ่าย แสตมป์ ไปรษณียบัตร ปฏิทิน ตั๋ว ฯลฯ จากสิ่งพิมพ์ในชีวิตประจำวันที่ถูกมองว่ามีคุณค่าเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีคุณค่าถาวรเพราะเป็นสิ่งที่ผลิตขึ้นมาในปริมาณมากหรืออยู่ในรูปแบบที่ใช้แล้วทิ้ง บางครั้งรายการของสะสมยังคงรักษาและแสดงคุณภาพกราฟิกหรือเป็นการเชื่อมโยงกับบุคคล เหตุการณ์ หรือกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจง ในด้านห้องสมุดและสารนิเทศศาสตร์ คำว่า "Ephemera" ยังหมายถึงสิ่งพิมพ์แผ่นเดียวหรือเอกสารหน้าเดียวที่จะทิ้งไปภายหลังการใช้ ห้องสมุดขนาดใหญ่อาจเก็บรวบรวม จัดระบบและเก็บรักษาของสะสมเหล่านี้ไว้เป็นทรัพยากรสารนิเทศพิเศษ และเนื่องจากของสะสมเหล่านี้หมายถึงวัสดุที่มีการหมุนเวียนสั้น ๆ โดยมีคุณค่าต่อการอ้างอิง หรือมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และวรรณคดีเพียงพอที่จะเก็บรักษาไว้เป็นจดหมายเหตุถาวร เช่น รายละเอียดของวิชาที่เปิดเรียนและตารางการเรียนการสอน จดหมายข่าว นามานุกรมของบุคลากร เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Algorithmic language | ภาษาอัลกอลภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
and elsewhere | (adv.) และอื่นๆ (คำย่อจากภาษาละติน et alibi) |
assimilate with | (phrv.) กลมกลืนไปกับ (โดยเฉพาะทางภาษา, วัฒนธรรม, วิถีชีวิต) See also: ค่อยๆกลมกลืนกับ |
beta | (n.) อักษรตัวที่ 2 ของภาษากรีก (ตัวย่อคือ b) |
diachronic | (adj.) ที่แสดงการพัฒนาหรือวิวัฒนาการตามลำดับเวลา เช่น ภาษา หรือสังคม |
e.g. | (abbr.) ตัวอย่าง (คำย่อจากภาษาละติน exempli gratia) See also: เช่น, อาทิ |
epsilon | (n.) พยัญชนะตัวที่ 5 ในภาษากรีก (คล้ายพยัญชนะ e ในภาษาอังกฤษ) |
ern | (n.) นกอินทรีทะเลปีกยาวพันธุ์ยุโรป มีชื่อในภาษาละตินว่า Haliactus albicilla Syn. sea eagle |
erne | (n.) นกอินทรีทะเลปีกยาวพันธุ์ยุโรป มีชื่อในภาษาละตินว่า Haliactus albicilla Syn. sea eagle |
et al. | (adv.) และอื่นๆ (คำย่อจากภาษาละติน et alibi) Syn. and elsewhere |
Etruscan | (adj.) เกี่ยวกับประชาชน ภาษา และวัฒนธรรมอิทรูเรียโบราณ |
frankincense | (n.) ยางสนที่มีกลิ่นหอม (ชื่อในภาษาละตินคือ Boswellia sacra) Syn. olibanum |
hail up | (phrv.) พักค้างคืนในโรงแรม (ใช้ในภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย และเป็นคำไม่เป็นทางการ) |
heather | (n.) ต้นไม้พุ่มเตี้ยชนิดหนึ่งขึ้นอยู่ตามภูเขาในทวีปยุโรปและเอเชีย มีชื่อในภาษาละตินว่า Calluna Vulgaris Syn. ling |
herring | (n.) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง อาสัยอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ มีชื่อในภาษาละตินว่า Clupea harengus See also: ปลาเฮริง |
hill myna | (n.) นกที่มีขนดำและสอนให้พูดเลียนแบบมนุษย์ได้ มีชื่อในภาษาละตินว่า Gracula religiosa See also: นกจำพวกนกสาลิกาและนกขุนทอง |
historical | (adj.) ที่แสดงการพัฒนาหรือวิวัฒนาการตามลำดับเวลา เช่น ภาษา หรือสังคม Syn. diachronic |
Hittite | (adj.) เกี่ยวกับประชาชน, ภาษา และวัฒนธรรมของชนชาตินี้ |
honeybee | (n.) ผึ้ง (มีชื่อในภาษาละตินว่า Apis mellifera) Syn. bee |
honeydew | (n.) แตงเนื้อขาวชนิดหนึ่งที่มีรสหวาน (มีชื่อในภาษาละตินว่า Cucumis melon) Syn. winter melon |
honeydew melon | (n.) แตงเนื้อขาวชนิดหนึ่งที่มีรสหวาน (มีชื่อในภาษาละตินว่า Cucumis melon) Syn. honeydew, winter melon |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
My native language is Thai | ภาษาถิ่นของฉันคือ ภาษาไทย |
He got an A in English | เขาได้ A ในวิชาภาษาอังกฤษ |
There are many ways of learning a language | มีหลายๆ วิธีในการเรียนภาษาหนึ่งๆ |
It took me about five years to speak English | ฉันใช้เวลาราว 5 ปีในการพูดภาษาอังกฤษ |
How long have you studied English? | คุณเรียนภาษาอังกฤษมานานแค่ไหนแล้ว |
He speaks English fluently | คุณพูดภาษาอังกฤษได้คล่อง |
You speak English pretty well | คุณพูดภาษาอังกฤษได้ดีมาก |
How can I improve my spoken English? | ฉันจะสามารถปรับปรุงการพูดภาษาอังกฤษของฉันได้อย่างไร |
I can also speak some French | ฉันยังสามารถพูดภาษาฝรั่งเศสได้บ้าง |
You speak English so well | คุณพูดภาษาอังกฤษดีเหลือเกิน |
Please take me to someone who speaks English | โปรดพาฉันไปหาใครก็ได้ที่พูดภาษาอังกฤษได้ |
Please find someone who speaks English | โปรดหาใครก็ได้ที่พูดภาษาอังกฤษให้หน่อย |
I'm practicing English with my friends | ฉันกำลังฝึกภาษาอังกฤษกับเพื่อนๆ |
Her English is pretty good | ภาษาอังกฤษของเธอดีมาก |
It's not difficult for me to speak English, | มันไม่ยากสำหรับฉันที่จะพูดภาษาอังกฤษ |
It's impossible to speak English like a native speaker | มันเป็นไปไม่ได้ที่จะพูดภาษาอังกฤษอย่างคนที่ใช้ภาษาอังกฤษมาแต่เกิด |
How many languages can you speak? | คุณพูดได้กี่ภาษาหรือ? |
How long did it take you to speak English? | คุณใช้เวลานานแค่ไหนในการพูดภาษาอังกฤษได้? |
How long will it take to learn a language? | ต้องใช้เวลานานแค่ไหนในการเรียนภาษา? |
Your English is improving little by little | ภาษาอังกฤษของคุณกำลังพัฒนาไปทีละน้อย |
Do you feel embarrassed when you speak English? | คุณรู้สึกอายเมื่อพูดภาษาอังกฤษหรือเปล่า? |
Do they seem confused when you speak English? | พวกเขาดูสับสนเมื่อฟังคุณพูดภาษาอังกฤษใช่หรือเปล่า? |
Is it difficult for you to understand native speakers? | เป็นเรื่องยากสำหรับคุณที่จะเข้าใจเจ้าของภาษาพูดใช่ไหม? |
You still can't understand English speakers easily? | คุณยังคงไม่สามารถเข้าใจที่เจ้าของภาษาพูดได้โดยง่ายใช่ไหม? |
You have studied English for years | คุณเรียนภาษาอังกฤษมาหลายปี |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
He always thought of the sea as la mar which is what people call her in Spanish when they love her. | เขามักจะคิดว่าของทะเลเป็น ลา มา ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้คนเรียกเธอว่า ในภาษาสเปนเมื่อพวกเขารัก เธอ |
Have you any speaking knowledge of the Sarkhanese language? | {\cHFFFFFF}คุณมีความรู้พูดใด ๆ ของภาษา Sarkhanese? |
There is neither speech nor language, yet His voice is heard among them. | จักไม่มีคําพูด หรือภาษาใด ๆ เเต่สุรเสียงพระองค์จะดังก้อง |
However, look at their obscene gestures like deaf-mute language with a code none of us can break, no matter how great our power | อย่างไรก็ตาม, ดูที่การแสดงอากัปกิริยา their obscene ... ...เหมือนภาษาคนหูหนวกและเป็นใบ้... ...กับไม่มีรหัสของเราสามารถหยุด,\ Nno วิธีใหญ่พลังของเรา |
Don't bother. This is a language only understood between assassins. | ไม่ต้องกังวล มันเป็นภาษาเฉพาะ มีแต่มือสังหาร เท่านั้นที่อ่านออก |
# Out where dreams come true ## | ที่ที่ความฝันเป็นจริง บรรยายภาษาไทยโดย PJSOFT |
Are you going to major in English? | คุณจะเลือกสาขาหลัก ภาษาอังกฤษ เหรอ? |
He speaks a dozen languages, knows every local custom. | เขาพูดภาษาอื่นๆได้ถึง 12 ภาษา, รู้จักวัฒนธรรมของทุกๆแห่งเป็นอย่างดี. |
Never thought I'd trust an English person again... especially a lawyer. | ไม่เคยคิดว่าฉันต้องการความไว้วางใจ คนภาษาอังกฤษอีก? โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักกฎหมาย |
And she had a daughter who grew up speaking only English and swallowing more Coca-Cola than sorrow. | แล้วเธอก็มีลูกสาวที่โตขึ้นมาโดยพูดได้... แต่ภาษาอังกฤษ แล้วก็ดื่มแค่โค้กมากกว่าความระทมทุกข์ |
You were brought up in Mexico and whwn you speak English, you speak it with a Castilian accent. | คุณโตในแม็กซิโก และเมื่อคุณพูดภาษาอังกฤษ คุณพูดสำเนียงคาสทิเลี่ยน |
Well, I don't know the English word, but in Welsh... we call it a- a bethangalw. (thingamajig) | คือ ผมไม่รู้คำภาษาอังกฤษ แต่ภาษาเวลส์เรียกว่า "เบทังการู" |
Maybe because 70% of the planet speaks other languages. | อาจจะเป็นเพราะ 70% ของโลกที่พูดภาษาอื่น ๆ |
This was the key that allowed us to decipher their language for physics, geometry, chemistry. | นี้เป็นกุญแจสำคัญ ที่ช่วยให้เราสามารถถอดรหัส ภาษาของพวกเขา ฟิสิกส์เรขาคณิตเคมี กรอบถัดไปเอลลี |
If nothing else it should be somebody fluent in the language the message was given in. | หากไม่มีอะไรอื่น มันควรจะเป็นใคร สักคนที่พูดภาษา ภาษาข้อความที่ได้รับใน |
Actually, I can't speak no Indian hardly at all. | จริงๆ แล้วผมแทบพูดภาษา อินเดียนไม่ได้เลย |
Right, well, using layman's terms, we use a rotating magnetic field to focus a narrow beam of gravitons. | ก็ได้ ใช้ภาษาชาวบ้านก็คือ เราใช้เครื่องปั่นแรงดึงดูดปั่นสนามพลังแม่เหล็กให้รวมศูนย์ |
Ancient Jews used Hebrew as their numerical system. | คนยิวแต่โบราณ ใช้ภาษาฮีบรูเป็นระบบตัวเลข ลองดูนะ |
Take the Hebrew for father, ab. | แต่ละตัวเลขมีความสัมพันธ์กัน ลองดูคำว่าพ่อในภาษาฮีบรู , Ab |
I once knew every spell in all the tongues of Elves Men and Orcs. | ข้าเคยรู้เวทมนต์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาของเอล์ฟ ..... มนุษย์ และออร์ค |
Warner, the English language... is all about subliminal domination. | วอร์เนอร์ ภาษาอังกฤษน่ะ มันเรื่องกดขี่ทางเพศล้วนๆ |
You will scream in five different languages, horse thief! | เจ้าจะร้องโหยหวน 5 ภาษาต่างหาก - โจรขโมยม้า |
I have sampled every language. French is my favorite. | เป็นภาษาที่เรียบง่าย ผมชอบภาษาฝรั่งเศส ภาษาที่ไพเราะ |
If you just deign to speak english, with what you learned in prison, you could be a paralegal tomorrow. | รู้มั้ยคุณฉลาด ถ้ารู้จักเรียบเรียงภาษา จากสิ่งที่เรียนในอินเตอร์เน็ทกับในคุก คุณเป็นผู้ช่วยทนายยังได้ |
How do you say "Eat it while it's warm" in local dialect? | ถ้าจะพูดว่า "กินมันตอนที่มันยังอุ่นอยู่" ในภาษาท้องถิ่นนี่ เขาพูดว่ายังไงนะ |
Jamon in English means Maxim | Jamon ในภาษาอังกฤษแปลว่า คติพจน์ |
Maybe you should pretend like you're talking to... someone educated in the penal system. | คุยกับข้า ใช้ภาษาคนขี้คุก จะเข้าใจง่ายกว่ามั๊ย ไม่ต้องหรอก... |
I get up in the morning... breakfast, math tutor, Latin tutor, lunch, tennis lessons, dance lessons... | ฉันตื่นมาตอนเช้า... ทานข้าวเช้า / เรียนคณิตศาสตร์ ภาษาลาติน แล้วก็ทานมื้อกลางวัน จากกนั้นก็เรียนเทนนิส เรียนเต้นรำ... |
The force? | เลอ ฟอร์ซ ภาษาฝรั่งเศส แปลว่าความเข้มแข็ง |
Ooh, where'd you learn that "big girl" word? | โอ้ นี่ตกลงพูดภาษา คนอ้วน เป็นแล้วเหรอ |
Patrol picked him up two blocks away. He only speaks bulgarian. Now we're waiting on a translator. | สายตรวจจับมาได้ไม่ไกลจากที่นี่ เขาพูดภาษาบูลการ์เรียน เรากำลังคอยล่ามอยู่ |
Maybe it's some kind of slang, like hip-hop. | บางทีมันอาจจะเป็นคำสแลง อย่างเช่นภาษาฮิป ฮอปของวัยรุ่นก็ได้ |
No, but the symbol burned into your field three months ago... that's the Kryptonian symbol for "crusade." | ไม่แต่ สัญลักษณ์ ที่ใหม้ที่ไร่ของคุณเมื่อ3 เดือนก่อน ในภาษา คริมโตเนียน แปลว่า " ครูเสด " |
Come to where the men speak Italian, and continue, till they speak something else. | ทางไปเยรูซาเล็มง่ายมาก. ไปทางซึ่งมีคนพูดภาษาอิตาเลี่ยน, แล้วเดินทางต่อไปจนถึงที่ผู้คนพูดภาษาอื่น. |
She must have a knowledge of music, singing, drawing, dancing and the modern languages to deserve the word. | เธอผู้นั้นต้องมีความรู้เรื่องดนตรี ร้องเพลง วาดภาพ เต้นรำ และภาษาที่ทันสมัย ถึงมีค่าสมกับคำชม |
One of the best constellations is Ursa Major... which is Latin American for Big Bear. | หมู่ดาวที่หนูว่าเจ๋งสุด ชื่อเออร์ซ่า เมเจอร์ เป็นภาษาละติน แปลว่าหมีใหญ่ |
It means, "Have a nice day" in Japanese, Madlock. | แปลว่า "ขอให้โชคดี" ในภาษาญี่ปุ่น แม้ดล็อค |
Naw, man, Japanese for "Nissan Sentra," right, Bates? | ไม่ใช่ ภาษาญี่ปุ่นคือนิสสัน เซ็นทรา ใช่มั้ย เบตส์ |
Actually, Olive, "à la mode"in French... translates literally as "in the fashion. " | โอลีฟ ที่จริงมันอ่านว่า อาลาโมด เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่าทันสมัย |
A Hiro Nakamura from the future, who speaks English and carries a sword stopped time to tell me that I have to save the cheerleader. | เขา ฮิโระ นากามูระ มาจากอนาคต, เขาพูดภาษาอังกฤษ และ ถือดาบที่สามารถหยุดเวลาได้ และเขาบอกผมว่า ผมต้องช่วยชีวิตเชียร์ลีดเดอร์คนนั้นให้ได้ |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
国字 | [こくじ, kokuji] Thai: อักษรคันจิที่คิดขึ้นเองในภาษาญี่ปุ่น English: kanji made in Japan |
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาเขียน English: written language |
文語 | [ぶんご, bungo] Thai: ภาษาในวรรณกรรม English: literary language |
日本語 | [にほんご, nihongo] Thai: ภาษาญี่ปุ่น English: Japanese language |
言語 | [げんご, gengo] Thai: ภาษา English: language |
音便 | [おんびん, onbin] Thai: การเปลี่ยนแปลงของเสียงอันเนื่องมาจากเสียงข้างเคียงในภาษาญี่ปุ่น English: euphonical change |
飲む | [のむ, nomu] Thai: ดื่ม ในภาษาญี่ปุ่นใช้กับการกินของเหลวหรือ การกลืนลงคอโดยไม่เคี้ยว |