English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ความจำ | (n.) memory See also: remembrance, commemoration Ops. การลืม |
ความจำกัด | (n.) limitation See also: restriction, circumscription Syn. ข้อจำกัด |
ความจำนง | (n.) aim See also: wish, desire, purpose, intention Syn. ความประสงค์, ความต้องการ |
ความจำเป็น | (n.) necessity See also: need, essence Syn. เหตุจำเป็น |
ความจำเริญ | (n.) prosperity See also: flourish, success Syn. ความเจริญ, ความรุ่งเรือง Ops. ความหายนะ, ความวิบัติ |
ความจำเสื่อม | (n.) weaken remembrance See also: deteriorated remembrance Ops. การระลึกได้ |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
disorentation | ความจำสับสน |
accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ |
acoustic memory | หน่วยความจำเชิงเสียงเป็นหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้สายหน่วงเสียง (acoustic delay line) ซึ่งใช้ปรอทหรือ ควอร์ทซ์ (quartz) เป็นสื่อ |
alphabetic code | รหัสตัวอักษร เป็นรหัสตัวอักษรที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์แล้วคอมพิวเตอร์สามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำได้ ตัวอักษร 1 ตัวจะใช้รหัสเป็นชุดของบิต 1 ชุดเรียกว่า "ไบต์" (byte) ดู byte ประกอบ |
alphabetic string | สายตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระหลาย ๆ ตัวที่เมื่อนำมาต่อกันแล้วสื่อความหมายบางอย่างและสามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสื่อชนิดต่าง ๆ ได้มีความหมายเหมือน character string |
amnemonic | เกี่ยวกับการเสื่อมหรือสูญเสียความจำ |
amnesia | (แอมนี' เซีย) n. ภาวะสูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน. -amnestic adj. |
amnesiac | (แอมมี' ซิแอค) n. ผู้สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน. -adj. ซึ่งมีอาการของ amnesia (person affected by amnesia) |
applicant | (แอพ'พลิเคินทฺ) n. ผู้สมัคร,ผู้แจ้งความจำนง,ผู้ขอ (person who applies) |
arithmetic statement | ข้อความสั่งคำนวณ หมายถึง คำสั่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ นำค่าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหรือนำค่าเหล่านั้นไปทำการคำนวณ เมื่อได้ผลจากการคำนวณแล้วจึงนำไปเก็บในตำแหน่งที่ซี่งกำหนดไว้ เช่น score = A+B หมายความว่า ให้นำค่า A+B ได้ผลเท่าใด นำไปเก็บไว้ที่ score |
auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
auxiliary storage | หน่วยเก็บช่วย หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น |
behoove | (บิโฮฟว',บิฮูฟว) {behoved,behooved,behoving,behooving,behoves,behooves} vt.,vi. เป็นความจำเป็น,เป็นความเหมาะสม, Syn. become |
behove | (บิโฮฟว',บิฮูฟว) {behoved,behooved,behoving,behooving,behoves,behooves} vt.,vi. เป็นความจำเป็น,เป็นความเหมาะสม, Syn. become |
backing store | หน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage |
backup storage | หน่วยเก็บสำรอง หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store |
bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ |
bootstrap | n. รูเชือกผูกรองเท้า ปลุกเครื่องเรียกย่อ ๆ ว่า boot1. หมายถึงการเปิดเครื่องด้วยการบรรจุซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) เข้าไปในหน่วยความจำหลัก (main memory) 2. อาจหมายถึงเทคนิควิธีในการบรรจุโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง (program) ทั้งปวงที่มีอยู่ ลงไปในหน่วยความจำหลัก |
bubble memory | หน่วยความจำแบบฟองหมายถึง หน่วยความจำชนิดหนึ่งที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ใด้แม้ว่าไฟฟ้าจะดับไปแล้วก็ตาม นิยมใช้กันมากสำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ที่ไม่มีเนื้อที่มากพอที่จะมีฮาร์ดดิสก์ได้ |
card reader | เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป |
character string | หมายถึง ตัวอักขระหลาย ๆ ตัวที่เมื่อนำมาต่อกันแล้ว สื่อความหมายบางอย่าง และสามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสื่อ (media) ชนิดต่าง ๆ ได้ นอกจากนั้น จะต้องทำให้คอมพิวเตอร์สามารถแยกออกว่าไม่ใช่คำสั่งในภาษามีความหมายเหมือน alphabetic string หรือ string |
chemanesia | n. การสูญเสียความจำเนื่องจากยา |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) |
buffer | (บัฟ'เฟอะ) {buffered,buffering,buffers} n. ตัวกันชน,สารที่สามารถทำให้ทั้งกรดและด่างเป็นกลาง,เครื่องขัดเงา,คนงานขัดเงา vt. ใส่ตัวทำให้กรดหรือด่างเป็นกลาง,ผ่อนคลาย,ปกป้อง,กันชน, Syn. cushion ที่พัก (ข้อมูล) กันชนบัฟเฟอร์ในกรณีที่อัตราความเร็วในการทำงานของอุปกรณ์บางอย่างมีความเร็วไม่เท่ากัน เป็นต้นว่า เครื่องพิมพ์และหน่วยประมวลผลซึ่งทำงานด้วยความเร็วที่แตกต่างกันมาก คอมพิวเตอร์ประมวลผลเสร็จแล้วจึงต้องส่งผลมารออยู่ที่บัฟเฟอร์ก่อน เพราะเครื่องพิมพ์จะใช้เวลามากกว่าในการพิมพ์ (พิมพ์ตามไม่ทัน) เราจะพบบ่อย ๆ ว่า แม้ว่าจะสั่งให้หยุดพิมพ์ แต่เครื่องพิมพ์จะไม่หยุดทันที ทั้งนี้เป็นเพราะมีข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งไปรออยู่ที่บัฟเฟอร์แล้ว เครื่องพิมพ์จะต้องพิมพ์จนหมดข้อมูลในบัฟเฟอร์นี้ จึงจะหยุด คอมพิวเตอร์นั้นจะมีที่พักข้อมูลทั้งเมื่อรับข้อมูลเข้าและเมื่อส่งข้อมูลออก อันที่จริง บัฟเฟอร์ก็เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยความจำนั่นเอง |
byte | (ไบทฺ) n. หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่ากับ 1 อักขระหรือ 8 บิต, ข้อมูลจำนวน 8 บิต, ชุดของบิต (bit) ซึ่งคอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมล 1 ชุด คอมพิวเตอร์ต่างชนิดจะจัดชุดของบิตไว้ไม่เท่ากัน เช่น เครื่อง IBM 360 จัดบิตไว้เป็นชุด ๆ ละ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ โดยปกติ ใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำ หรือจานบันทึกว่า มีขนาดเก็บได้กี่ตัวอักษร หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น วัดกันเป็นกิโลไบต์ (kilobyte) เรียกว่า K byte เท่ากับประมาณ 1 พันไบต์ หรือหนึ่งพันตัวอักษร, เมกะไบต์ (mega byte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านไบต์ , กิกะไบต์ (gigabyte) เท่ากับประมาณ 1 พันล้านไบต์ และเทราไบต์ (terabyte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านล้านไบต์เช่น เราอาจพูดว่า ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องนี้มีขนาดความจุ 2 กิกะไบต์ (หมายความว่าสามารถเก็บข้อความได้สองพันล้านตัวอักษร) อนึ่ง หน่วยวัดที่นิยมใช้มีดังนี้ 1 KB (kilobyte) = 1,024 ไบต์ 1 MB (Megabyte) = 1,048,576 ไบต์ (หรือ 1,024 Kbytes) 1 GB (gigabyte) = 1,073,741,824 ไบต์ (หรือ 1,024 Mbytes) 1 TB (terabyte) = 1,099,511,627,776 ไบต์ (หรือ 1,024 Gbytes) |
cache | (แค?) {cached,caching,caches} n. ที่ซ่อน,ที่เก็บ,สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน,เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
central processing unit | หน่วยประมวลผลกลางนิยมใช้ตัวย่อว่า CPU (ซีพียู) หมายถึง ส่วนที่เป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนที่เรียกว่าตัวประมวลผล (microprocessor) และหน่วยความจำ ประกอบด้วยชิป (chip) ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำ คัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่ใช้ทำหน้าที่ในการประมวลผล หรือทำการคำนวณ เมื่อทำการประมวลผล หรือคำนวณในส่วนนี้เสร็จแล้ว ก็จะถ่ายโอนผลลัพธ์ที่ได้ไปไว้ในส่วนอื่นอีกชั้นหนึ่ง ดู input unit และ output unit ประกอบ |
chip | (ชิพ) 1. {chipped,chipping,chips} n. เศษไม้,เศษหิน,ชิ้น,แผ่นตัด,เศษ,เบี้ย,สิ่งเล็กสิ่งน้อย,สิ่งที่ไร้ค่าหรือมีค่าน้อย,ไม้ตอก,ก้อนมูลแห้ง,เงิน vt. ตัด,เลาะ,แกะ,แชะ,ขูด,สกัด,เจาะ,ทำปากแหว่ง,เฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ ,พูดเหน็บแนม,พูดสอด,จิกให้ไข่แตก vi. แหว่ง,เป็นรอยร้า 2. n. หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทำหน้าที่ เหมือนสาร กึ่งตัวนำ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มีชิปแบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit) ซึ่งจะมีทรานซิสเตอร์เป็นพัน ๆ ตัว แต่มีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แต่มีประสิทธิภาพสูงมาก ถ้าชิปใดมีทั้งหน่วยความจำ หน่วยคำนวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (micro processor) ปัจจุบัน เราใช้ชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย์ ฯ ดู microprocessor ประกอบ |
cim | (ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย |
clipboard | คลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ |
clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ |
compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม,ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ |
compression | (คัมเพรส'เชิน) n. การอัด,การบีบ,การกด,ผลจากการถูกอัด,ความกดดัน,ภาวะที่ปริมาตร (ในห้องเครื่อง) ต่ำลงและความกดดันของอากาศสูงขึ้นก่อนการเผาไหม้., Syn. compressure การอัดแน่นหมายถึง นำข้อมูลหรือคำสั่งจำนวนมาก ๆ มาอัดให้แน่น เพื่อ ให้ใช้ที่เก็บในหน่วยความจำ หรือจานบันทึกน้อยลง โดยปกติ จะมีโปรแกรม หรือคำสั่ง (ในดอส 6.0) ที่สามารถอัดโปรแกรม ใหญ่ ๆ ที่กินเนื้อที่มาก ๆ ให้เหลือน้อยลง (เพื่อจะได้เก็บลงในแผ่นจานบันทึกได้) จานบันทึกชนิดอ่อน (floppy disk) ในปัจจุบัน มีความสูงสุด 1.44 เมกะไบต์ ฉะนั้น ถ้าแฟ้มข้อมูลใหญ่มาก ก็จะไม่สามารถเก็บลงในแผ่นได้ จึงต้องจัดการอัดให้แน่นเสียก่อน อย่างไรก็ตาม เมื่อจะเรียกมาใช้ จะต้องนำมาคลายออกก่อน เรียกว่า "decompress" การอัดแน่นก็ดี การคลายคืนก็ดี จะต้องมีโปรแกรมเฉพาะจัดทำให้ ในระบบดอส นิยมใช้ PKZip/Unzip ในระบบ Windows 95 โปรแกรมที่นิยมชื่อ WinZip ในระบบยูนิกซ์ ใช้ Gunzipดู expand, decompress เปรียบเทียบ |
control panel | แผงควบคุมเป็นชื่อโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) กลุ่มหนึ่ง เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ หรือส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น จอภาพ, เมาส์ , แป้นพิมพ์, หน่วยความจำ ระบบเครือข่าย ฯ control panel นี้จะมีให้ใช้ทั้งในแมคอินทอช และระบบวินโดว์บนพีซี หรือ Presentation Manager ของ โอเอสทู (OS 2) |
control unit | หน่วยควบคุมเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมด กล่าวคือ ควบคุมการทำงานของหน่วยคำนวณและตรรกะ ควบคุมการรับ/ส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก (main memory) กับหน่วยความจำในหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ติตต่อและควบคุมการทำงานของหน่วยรับข้อมูลและแสดงผล (input/output unit) เป็นต้นว่า รับข้อมูลเข้ามาเก็บในหน่วยความจำ ปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง รวมทั้งจัดการให้การทำงานเป็นไปตามขั้นตอน และแสดงผลตามคำสั่งด้วยดู central processing unit ประกอบ |
cpu | (ซีพียู) เป็นคำที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้จัก ย่อมาจาก Central Processing Unit แปลว่า ตัวประมวลผลกลาง หมายถึงส่วนสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ประกอบด้วยหน่วย ความจำ หน่วยคำนวณ และหน่วยควบคุม เมื่อพูดถึง "ซีพียู" ของไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึงชิป (chip) ที่ใช้ ว่าเป็นเบอร์ 80286, 80386, 80486 หรือ เพนเทียม (pentium) |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
amnesia | (n) ความจำเสื่อม,การหลงลืม |
application | (n) ใบสมัครงาน,การสมัครงาน,คำร้องขอ,การแสดงความจำนง |
exigency | (n) เหตุด่วน,เหตุฉุกเฉิน,เรื่องด่วน,ความจำเป็น |
fillip | (n) เครื่องกระตุ้น,การเตือนความจำ |
memorial | (adj) เป็นที่ระลึก,เป็นอนุสรณ์,เกี่ยวกับความจำ,เตือนความจำ |
reminder | (n) เครื่องเตือนความจำ,เครื่องเตือนใจ |
necessarily | (adv) โดยความจำเป็น,อย่างเลี่ยงไม่ได้,แน่แท้ |
necessity | (n) ความจำเป็น,สิ่งจำเป็น,ความแน่แท้,เครื่องบังคับ |
need | (n) ความต้องการ,ความจำเป็น,ของจำเป็น,ความขัดสน |
needless | (adj) ไม่ต้องการ,ไม่มีความจำเป็น |
needs | (n) ความจำเป็น,ความต้องการ |
perforce | (adv) ด้วยความจำเป็น,ด้วยกำลัง,อย่างเลี่ยงไม่พ้น |
remind | (vt) เตือนความจำ,เตือนใจ,ทำให้นึกถึง |
reminiscence | (n) ความทรงจำ,การระลึกถึง,บันทึกความจำ |
requirement | (n) ข้อกำหนด,ความต้องการ,ความจำเป็น,ข้อบังคับ,การเรียกร้อง |
scantiness | (n) ความไม่เพียงพอ,ความขาดแคลน,ความจำกัด |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
exigence; exigency | ความจำเป็นรีบด่วน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exigency; exigence | ความจำเป็นรีบด่วน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
necessity | ความจำเป็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acoustic memory; acoustic store | หน่วยความจำเชิงเสียง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amnesia | ภาวะเสียความจำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bubble memory | หน่วยความจำแบบฟอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CCD memory | หน่วยความจำแบบซีซีดี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
confabulation; fabulation | การกุเหตุความจำเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
DMA (direct memory access) | ดีเอ็มเอ (การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
electrically alterable read-only memory (EAROM) | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดเปลี่ยนแปลงได้ด้วยไฟฟ้า (อีเอรอม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
EEPROM (electrically erasable PROM) | อีอีพร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
EPROM (erasable programmable read-only memory) | อีพร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
expanded memory | หน่วยความจำส่วนขยาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
extended memory | หน่วยความจำส่วนเพิ่ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
external memory | หน่วยความจำภายนอก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
flash memory | หน่วยความจำแฟลช [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
intention | เจตนา, ความจำนง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
main memory | หน่วยความจำหลัก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
memory | หน่วยความจำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
nonvolatile memory | หน่วยความจำไม่ลบเลือน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) | พีซีเอ็มซีไอเอ (สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA) | สมาคมบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ (พีซีเอ็มซีไอเอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmable read-only memory (PROM) | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ (พร็อม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
PROM (programmable read-only memory) | พร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
RAM (random access memory) | แรม (หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
random access memory (RAM) | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (แรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
read-only memory (ROM) | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (รอม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
refreshing the memory | ฟื้นความจำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ROM (read-only memory) | รอม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
scratchpad memory | หน่วยความจำใช้งานชั่วคราว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
SECAM (sequential color and memory) | ซีแคม (ระบบโทรทัศน์แบบใช้สัญญาณสีเป็นลำดับและหน่วยความจำ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
terminate-and-stay-resident program (TSR program) | โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ (โปรแกรมทีเอสอาร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
TSR program (terminate-and-stay-resident program) | โปรแกรมทีเอสอาร์ (โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
video memory | หน่วยความจำภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
virtual memory | หน่วยความจำเสมือน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
wish | ความประสงค์, ความจำนง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Memory | ความจำ [TU Subject Heading] |
Necessity (Law) | ความจำเป็น (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
Address | เลขที่อยู่เลขที่อยู่ประจำส่วนต่างๆ ตามแต่จะกำหนด เช่น เลขที่อยู่หน่วยความจำหมายถึงเลขที่อยู่ของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำซึ่งโดยปกติก็คือ เลขที่อยู่ประจำแต่ละไบต์ ทั้งนี้เพราะไบต์เป็นหน่วยความจำที่เล็กที่สุดที่สามารถอ้างถึงหรือระบุได้ [คอมพิวเตอร์] |
Aluminium | อะลูมิเนียม อะลูมิเนียมเป็นสารเคมีชนิดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวพันกับการก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ศึกษาถึงความเป็นไปได้ของอะลูมิเนียมที่จะก่อให้ เกิดโรค Alzheimer?s disease ซึ่งเป็นโรคที่ทำให้แก่ก่อนวัย กล่าวคือจะสูญเสียความจำและเกิดความสับสนอันเนื่องจากเซลสมองที่เกี่ยวข้อง กับความจำและการเรียนรู้ถูกทำลาย [สิ่งแวดล้อม] |
Amnesia | การเสียความจำ, ความจำเสีย, การลืม, แอมนีเซีย, ความผิดปกติของความจำ, ความจำเสื่อม, อาการลืม [การแพทย์] |
Audiobook | หนังสือเสียง หนังสือเสียง คือ สื่อที่บันทึกจากหนังสือแบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่นำมาอ่านและบันทึกเสียงในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผู้พิการทางสายตาหรือผู้ที่บกพร่องด้านการอ่านและผู้ต้องการรับรู้เนื้อหาของหนังสือผ่านทางการฟัง ได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากสื่อสิ่งพิมพ์เพิ่มขึ้น หนังสือเสียงที่คนทั่วไปรู้จัก มักผลิตออกมาในรูปแบบเทปคาสเซ็ทหรือแผ่นซีดี หรือในรูปแบบ MP3 แต่ในปัจจุบัน ได้มีการทดลองผลิตหนังสือเสียงรูปแบบใหม่สำหรับคนตาบอด เรียกว่า หนังสือเสียงระบบเดซี (DAISY-Digital Accessible Information System) ซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนหนังสือ แต่อยู่ในรูปแบบของแผ่นซีดี ผู้ฟังสามารถเปิดฟังหน้าใดส่วนใดก็ได้ตามที่ต้องการเหมือนอ่านหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ปกติ หนังสือเสียงในระบบนี้จะสามารถใส่ดรรชนีไว้ในเนื้อหาส่วนต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมและความจำเป็นในการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ผู้ฟังสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นชนิดพิเศษค้นหาเนื้อหาส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยำ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในแต่ละบท หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ย่อหน้า บรรทัด หรือแม้แต่ถ้อยคำ |
Byte | Byte, หน่วยวัดความจุของสื่อความจำเช่น หน่วยวัดความจำหลัก (RAM) หน่วยวัดความจำสำรอง ได้แก่ ดิสก์ เทป เป็นต้น หรืออาจจะเป้นหน่วยที่บอกขนาดของแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ 1 Byte จะมี 8 bit และ 1 Byte แทนข้อมูล 1 ตัวอักษร [คอมพิวเตอร์] |
Cache memory | หน่วยความจำแคช [TU Subject Heading] |
Confabulation | การสร้างเรื่องขึ้นมาใหม่,พูดจาเชื่อถือไม่ได้,พูดตอแหล,อาการคล้ายการตอแหล,การเสื่อมทางจิตและความจำ,พูดจากลบเกลื่อนแต่งเรื่อง [การแพทย์] |
Consolidate | การเก็บรวบรวมความจำ [การแพทย์] |
Disorientaion | การเสื่อมทางจิตและความจำ [การแพทย์] |
Dynamic RAM (DRAM) | ไดนามิกแรม หรือดีแรม, หน่วยความจำที่ใช้ในการจดจำข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
expanded memory system | หน่วยความจำส่วนขยายเวลาใช้ระบบปฏิบัติการ DOS [คอมพิวเตอร์] |
extended memory | หน่วยความจำส่วนเพิ่ม [คอมพิวเตอร์] |
flash memory | หน่วยความจำแบบแฟลช, หน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Main memory | หน่วยความจำหลัก [คอมพิวเตอร์] |
mainboard | เมนบอร์ด, แผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ อาจเรียกกว่า มาเธอร์บอร์ด หรือโมโบ โดยทั่วไปจะประกอบด้วยช่องสำหรับติดตั้งซีพียูไบออส ชิปเซ็ต ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ สายสัญญาณ และบัสต่างๆ ขั้วต่อสำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เสริมภายใน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
memory unit | หน่วยความจำ, หน่วยที่ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์กำลังประมวลผล และเป็นที่พักข้อมูลระหว่างที่ซีพียูกำลังประมวลผลข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Mnemonic Aids | สัญลักษณ์ที่เป็นเครื่องช่วยความจำหมายถึง สัญลักษณ์อย่างเดียวกันใช้แทนความหมายเหมือนกันตามหมวดหมู่ต่างๆ เช่น สัญลักษณ์ที่แสดงภาษาแสดงประเทศ แสดงรูปแบบคำประพันธ์และแสดงรูปแบบมาตรฐานของภาษา ตามระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Outsourcing | การจัดจ้างคนภายนอกการจัดจ้างคนภายนอก (Outsourcing) เป็นการว่าจ้างให้บริษัทหรือหน่วยงานภายนอกห้องสมุดเข้ามารับผิดชอบหรือดำเนินงานเพื่อช่วยงานในบางส่วนชั่วคราวหรืองานพื้นฐานระยะยาว เพื่อแก้ปัญหาด้านงบประมาณและเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน ความจำเป็นในการจัดจ้างคนภายนอกมีเหตุผลและความจำเป็นหลายประการ คือ |
RAM cache | แรมแคชหน่วยความจำในแรม สำหรับใช้เก็บข้อมูลที่ตัวประมวลผลต้องการเรียกใช้บ่อยๆ แรมแคชช่วยเพิ่มสมรรถนะให้กับคอมพิวเตอร ์ด้วยการทำงานเป็นเสมืองจานแข็ง เพราะว่าแรมสามารถถ่ายโอนข้อมูลไปยัง CPU ได้เร็วกว่าเครื่องขับจานแม่เหล็กหลายร้อยเท่า [คอมพิวเตอร์] |
Random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม [TU Subject Heading] |
read | อ่านรับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุต แล้วนำมาเก็บไว้ในหน่วยความจำเพื่อใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Read Only Memory( ROM) | รอม, หน่วยความจำแบบอ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real mode | ภาวะจริงภาวะการทำงานของเครื่องพีซีซึ่งยอมให้โปรแกรมใช้หน่วยความจำมาตราฐานขนาด 640 กิโลไบต์ เท่าที่ DOS กำหนดให้ในขณะที่ใช้วินโวส์ โปรแกรมจะใช้หน่วยความจำ 640 กิโลไบต์ด้วยการทำงานในภาวะป้องกัน ซึ่งโปรแกรมต่างๆ จะได้รับการป้องกันไม่ให้ก้าวก่ายกับโปรแกรมอื่นในหน่วยความจำ ทำให้เราสามารถนำโปรแกรมตั้งแต่สองโปรแกรมขึ้นไปมาดำเนินการในเวลาเดียวกันได้ [คอมพิวเตอร์] |
run | ดำเนินงาน,วิ่ง (โปรแกรม)เริ่มให้โปรแกรมดำเนินงาน เมื่อเราวิ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมนั้นจากจานแม่เหล็กบรรจุโปรแกรมนั้นในหน่วยความจำ แล้วจึงให้โปรแกรมนั้นดำเนินงานจนได้ผลลัพธ์ [คอมพิวเตอร์] |
secondary storage | หน่วยเก็บรองหน่วยความจำที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลและคำสั่งได้อย่างคงถาวรกว่าหน่วยความจำหลัก แม้ว่าไฟฟ้าจะดับเนื้อหาที่บันทึกไว้็จะไม่สูญหายไป หน่วยเก็บสำรอง หรือหน่วยความจำรองที่ใช้กันมากในเวลานี้ก็คือจานแม่เหล็ก แผ่นบันทึก เทปแม่เหล็ก [คอมพิวเตอร์] |
storage | หน่วยเก็บ, หน่วยความจำสำหรับเก็บคำสั่ง และข้อมูลของคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำลอง [คอมพิวเตอร์] |
register | เรจิสเตอร์หน่วยความจำชั่วคราวที่อยู่ในฮาร์ดแวร์ของตัวประมวล และสามารถถ่ายโอน หรือส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็วมาก เรจิสเตอร์มีหลายประเภทสุดแล้วแต่เครื่อง แต่ส่วนมากมีอยู่สองประเภทใหญ่ๆ คือ เรจิสเตอร์สำหรับใช้ในการคำนวณ ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคิดเลขภายในของตัวประมวลผล และเรจิสเตอร์สำหรับใช้เก็บคำสั่งและเลขที่อยู่ของคำสั่ง [คอมพิวเตอร์] |
ROM Read Only Menory | หน่วยความจำรอมควบคุมการส่งข้อมูลหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว หน่วยความจำสำหรับเก็บคำสั่งไว้อย่างถาวร คำสั่งที่เก็บไว้จะไม่ลบเลือนหายไป แม้ว่าไฟฟ้าจะดับ หน่วยความจำนี้ปกติเป็นชิปที่ผู้ผลิตได้บรรจุคำสั่งเอาไว้อย่างถาวร คำสั่งทั่วไปที่เก็บอยู่ในรอมได้แก่ BIOS (Basic Input/Output System) หรือโปรแกรมที่ช่วยการส่งข้อมูลระหว่างตัวประมวลผลกับอุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก ข้อมูลตัวแปลภาษาเบสิก และคำสั่งอื่นๆ ตามแต่ผู้ิผลิตจะเห็นว่าสมควร [คอมพิวเตอร์] |
smart card | บัตรสมาร์ต, บัตรสมาร์ต, บัตรเก่งบัตรพลาสติกขนาดเท่ากับบัตรเครดิตธรรมดา แต่ได้ฝังชิปไมโครโพรเซสเซอร์ และชิปหน่วยความจำเอาไว้ด้วย วัตถุประสงค์ก็เพื่อใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือบัตรเอาไว้เป็นจำนวนมาก เช่น บันทึกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลอาการเจ็บป่วย ฯลฯ บัตรนี้กำลังเริ่มได้ความนิยมมากขึ้น และต่อไปอาจจะนำมาใช้เป็นบัตรเงินสดแทนธนบัตร นั้นก็คือเมื่อใช้เครื่อเอทีเอ็มถอนเงินนั้น แทนที่จะให้เครื่องเอทีเอ็มส่งธนบัตรให้ เราก็สั่งให้บรรจุเงินให้เราทางบัตรเก่ง ต่อจากนั้นเราก็นำบัตรเก่งไปใช้ เมื่อต้องการจ่ายเงินเราก็โอนเงินที่อยู่ในบัตรนั้นให้กับผู้รับทันที วิธีการนี้บัตรเก่งก็จะกลายเป็นเงินพลาสติกไป [คอมพิวเตอร์] |
video RAM | หน่วยความจำบนการ์ด, หน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำมาก จะทำให้แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
virtual memory | หน่วยความจำเสมือนหน่วยความจำบนจานแม่เหล็กที่ทำงานในลักษณะที่ทำให้เรารู้สึกเหมือนกับว่าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำหลักใหญ่กว่าที่มีจริง วิธีการทำงานก็คือ เมื่อคอมพิวเตอร์ต้องการใช้คำสั่งและข้อมูลที่ไม่อยู่ในหน่วยความจำหลัก คอมพิวเตอร์จะนำคำสั่ง และข้อมูลจากจานแม่เหล็กมาสลับกัน คำสั่งและข้อมูลในหน่วยความจำหลักกลับไปกลับมาอยู่เช่นนี้จนเสร็จงาน การใช้หน่วยความจำเสมือนนั้นทำให้การดำเนินการของคอมพิวเตอร์ช้าลง แต่ก็ช่วยให้เราสามารถใช้งานโปรแกรมขนาดใหญ่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Welfare State | รัฐสวัสดิการ รัฐหรือประเทศหนึ่งซึ่งจัดหาสินค้าและบริการ เพื่อความจำเป็นขั้นพื้นฐานในชีวิต โดยเฉพาะบริการ ด้านสาธารณสุขให้แก่ประชาชนทุนคนในประเทศ โดยการใช้ระบบภาษีเป็นเครื่องมือในการจัดหาด้วยการเก็บภาษี ในอัตราที่สูงสำหรับผู้มีรายได้ เพื่อใช้จ่ายในบริการเหล่านี้ เยอรมนี เป็นประเทศแรกที่เป็นตัวอย่างของรัฐสวัสดิการ และสวีเดนนับเป็นประเทศที่รัฐได้จัดหาบริการต่างๆ ให้ประชาชนได้อย่างกว้างขวางมากที่สุด รัฐสวัสดิการในปัจจุบันประสบปัญหาค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นอย่างมาก เนื่องมากจากจำนวนประชาชนอยู่ในวัยชราที่ไม่ได้ทำงานในประเทศพัฒนาแล้วมี จำนวนมากขึ้น [สิ่งแวดล้อม] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
memory | (n.) ความจำ See also: ความทรงจำ, ระบบความจำ Syn. recollection, remembrance |
mind | (n.) ความจำ See also: ความทรงจำ Syn. subconcious, remembrance |
subconcious | (n.) ความจำ See also: ความทรงจำ Syn. remembrance |
neediness | (n.) ความจำเป็น See also: ความต้องการ |
call of nature | (n.) ความจำเป็นที่จะต้องขับถ่าย |
exigence | (n.) ความจำเป็นเร่งด่วน (คำทางการ) See also: ความต้องการเร่งด่วน Syn. need, requirement, urgency |
exigency | (n.) ความจำเป็นเร่งด่วน (คำทางการ) See also: ความต้องการด่วน Syn. need, requirement, urgency |
amnesiac | (adj.) ที่สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน Syn. amnesic |
amnesiac | (n.) ผู้สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน Syn. amnesic |
amnesic | (adj.) ที่สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน Syn. amnesiac |
amnesic | (n.) ผู้สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน Syn. amnesiac |
core | (n.) หน่วยความจำคอมพิวเตอร์ |
cue | (n.) สิ่งเตือนความจำ |
featherbedding | (n.) การจัดให้มีคนมากเกินความจำเป็น |
gigabyte | (n.) หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ |
inescapably | (adv.) ด้วยความจำเป็น See also: อย่างเลี่ยงไม่พ้น Syn. unavoidably |
memory | (n.) หน่วยความจำ (ในคอมพิวเตอร์) See also: ความจุของข้อมูล Syn. memory bank |
memory bank | (n.) หน่วยความจำ (ในคอมพิวเตอร์) See also: ความจุของข้อมูล |
moby | (sl.) เมกกะไบต์ (หน่วยวัดขนาดความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์) |
out of necessity | (idm.) เพราะความจำเป็น |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
It's essential to go to school | เป็นความจำเป็นที่ต้องไปโรงเรียน |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
Are you okay? | เซลล์ผู้บริจาคอวัยวะ สามารถ ส่งผ่าน ความจำ ไปยังผู้รับ |
Your memory may save your life. | ความจำของคุณอาจช่วยชีวิตคุณได้ |
That somehow my memories are really your life. | ความจำของฉันเป็น ชีวิตจริงของคุณ |
Your memory's coming back. | ความจำของนายกลับมา,แล้วใช่มั๊ย |
My recall is 100% accurate. | ความจำของผมแม่นยำ 100% |
Witness memory, funny old thing. | ความจำของพยาน เรื่องเก่าๆที่มันช่างตลก |
Human memory is sensory based. | ความจำของมนุษย์ คือกลไกการรับรู้หลัก |
Her memory resets every 30 seconds. | ความจำของเธอจะรีเซ็ตทุกๆ30วินาที |
She may retain the memories, but I believe that her becoming fully conscious of it, and giving testimony, would be impossible. | ความจำของเธออาจจะกลับมา แต่ว่า.. ผมคิดว่าการที่เธอจะกลับมามีสติโดยสมบูรณ์ และสามารถให้การได้ /Nนั่นนคงเป็นไปไม่ได้ |
Hard as that is for you to remember sometimes. | ความจำคงไม่ค่อยดีสินะ |
I have an excellent memory. | ความจำฉันดีเยี่ยมอยู่แล้ว |
I'm losing my fucking mind. | ความจำฉันเลอะเลือนหมดแล้ว |
My memory's a little foggy on account of this thirst. | ความจำฉันไม่ค่อยดีเพราะความกระหายน่ะ |
My own memory isn't as good as it used to be. | ความจำฉันไม่ดี เหมือนที่เคยเป็น |
My memory is not what it used to be. | ความจำฉันไม่เหมือนเมื่อก่อนแล้ว |
My memory's not what it was earlier. | ความจำชักไม่เหมือนตะกี๊ละ |
I have a great memory and I remember everything. | ความจำชั้นดี จำได้ทุกอย่างแหละ |
Good memory. I'm impressed. | ความจำดี ฉันประทับใจมาก |
Yourmemory'sthatgood? | ความจำดีขนาดนั้นเลย? |
Nice memorization. Did you Google that? | ความจำดีนะ คุณหาในกูเกิ้ลเอาหรอ |
All of the memories, that's all they are. | ความจำทั้งหมด ทั้งหมดเลย |
A vivid memory that I visited you on the planet... | ความจำที่ชัดเจน ว่าฉันได้ไปเยี่ยมคุณ\ บนดาวดวงนั้น... |
A memory of saving a boy's life. | ความจำที่ว่า คุณได้ช่วยชีวิตเด็กคนหนี่งไว้ |
Twisted memories of yours. | ความจำที่ไร้ศิลธรรมของนาย |
My memory, everything's getting confusing. | ความจำผม ทุกอย่างมันเริ่มจะสับสน |
My memory is a mighty fortress, Lisbon, from which no fact ever escapes once committed. | ความจำผมมันยอดยังกะป้อมปราการ,ลิสบอน ไม่มีความจริงอันไหนที่จะหนีรอดไปได้ |
Your short-term memory doesn't even last for three minutes. | ความจำระยะสั้นของคุณยังไม่ถึง 3นาทีเลย |
The memory circuits has to be broken. | ความจำวงจรไฟฟ้าควรถูกทำลาย |
So whatever my last moment was with her, | ความจำสุดท้ายของฉัน ตอนอยู่กับเธอ |
Phone numbers. We don't need all these. | ความจำหมายเลขโทรศัพท์ เราไม่ต้องใช้แล้ว |
Are your memories chronological? | ความจำเกิดขึ้นตามลำดับไหม |
His memory wasn't great. He'd mix the wrong pills. | ความจำเขาก็ไม่ค่อยดีเท่าไร |
Necessity-- the mother of invention. | ความจำเป็น .. สิ่งประดิษฐ์ของแม่ |
A necessity to maintain balance in the world. | ความจำเป็นของความสมดุล ในโลก |
Necessity truly is the mother of invention. | ความจำเป็นคือหัวใจของการประดิษฐ์ |
The biological imperative is virtually impossible to resist. | ความจำเป็นทางชีวภาพ เป็นสิ่งที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะต่อต้าน |
Necessity will have changed us. | ความจำเป็นที่จะ มีการเปลี่ยนแปลงเรา |
I've got to get these animals lockdown! | ความจำเป็นที่ต้องกักขังสัตว์เหล่านี้ |
Big and I found less and less need to escape to the other apartment. | ความจำเป็นที่เราจะลี้ภัย ไปอีกที่นึงมีน้อยลงทุกที |
An unfortunate necessity. | ความจำเป็นที่โชคร้ายน่ะ |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
必要 | [ひつよう, hitsuyou] Thai: ความจำเป็น English: necessity (an) |
申告 | [しんこく, shinkoku] Thai: การยื่นความจำนงเพื่อกระทำการทางกฎหมายกับสถานที่ราชการ English: report |