English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
รหัส | (n.) code See also: secret, cypher, cipher Syn. เครื่องหมาย, สัญลักษณ์ |
รหัสทางไกล | (n.) area code |
รหัสผ่าน | (n.) password See also: pass code, watchword |
รหัสลับ | (n.) secret code Syn. รหัสผ่าน |
รหัสไปรษณีย์ | (n.) postal code See also: postcode, ZIP code |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
alphabetic code | รหัสตัวอักษร เป็นรหัสตัวอักษรที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์แล้วคอมพิวเตอร์สามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำได้ ตัวอักษร 1 ตัวจะใช้รหัสเป็นชุดของบิต 1 ชุดเรียกว่า "ไบต์" (byte) ดู byte ประกอบ |
american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " |
bar code | รหัสแท่ง หมายถึง รหัสที่ประกอบด้วยเส้นหลายเส้นที่มีขนาดความกว้างต่าง ๆ กัน มักจะมีอยู่บนสินค้านานาชนิด นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน เครื่องอ่านรหัสแท่งจะอ่านได้ด้วยการปล่อยให้แสงผ่าน แล้วนำรหัสเหล่านี้มาแยกออกว่า เป็นรหัสของสินค้าอะไร ราคาเท่าใด บางบริษัทอาจจะใช้เป็นตัวควบคุมบัญชีพัสดุได้ด้วย |
binary code | รหัสฐานสองหมายถึง การใช้รหัสเลขฐานสองแทนตัวอักษร ตัวเลข และตัวอักขระ พิเศษต่าง ๆ โดยใช้เพียงเลข 0 และ 1 รหัสที่นิยมใช้กันอยู่มีหลายรหัสเช่น เอ็บซีดิก (EBCDIC) , แอสกี (ASCII) , บีซีดี (BCD) คอมพิวเตอร์ของแต่ละบริษัทจะเลือกใช้รหัสหนึ่งในการแทนข้อมูล |
card code | รหัสบัตรหมายถึง รหัสที่ใช้กับบัตร มีลักษณะเป็นรูสี่เหลี่ยมที่เจาะในแต่ละคอลัมน์ของบัตร เช่น ถ้าเจาะตำแหน่งคอลัมน์ที่ 12 และ 1 หมายถึงอักษร A ถ้าเจาะที่ตำแหน่งคอลัมน์ที่ 0 และ 9 หมายถึงอักษร Z เป็นต้น รหัสนี้บางทีเรียกรหัสฮอลเลอริท (Hollerith code) เพราะดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Dr. Hermann Hollerith) เป็นผู้กำหนดไว้ ดู card ประกอบ |
character code | รหัสอักขระหมายถึงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่กำหนดให้ใช้เป็นรหัสแทนอักขระ หรือมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่มีการตกลงกันไว้ เป็นต้นว่า ตารางรหัสแอสกี (ASCII table) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) โปรแกรมสำเร็จบางโปรแกรมใช้รหัสเหล่านี้ผสมกับตัวอักขระบางตัวเป็นรหัสคำสั่งให้เป็นการขีดเส้นใต้ , ทำตัวเอน ฯ |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
control code | รหัสควบคุมหมายถึง การกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์พิเศษ ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพิมพ์ เป็นต้นว่า กำหนดให้การกดแป้น เป็นการขึ้นย่อหน้าใหม่ เป็นต้น |
error code | รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น |
error correcting code | รหัสแก้ความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่สามารถช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด ซึ่งอาจเกิดขึ้นในขณะอ่านข้อมูล ส่งข้อมูล และพิมพ์ผลลัพธ์ การค้นพบนี้จะอาศัยการใช้บิตเสริม (parity bit) พิเศษในข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจะชี้ไปที่บิตที่มี ความผิดพลาด และจะเปลี่ยนค่าจาก 0 เป็น 1 หรือ 1 เป็น 0 ให้ |
hollerith code | รหัสฮอลเลอริทหมายถึง รหัสที่ใช้กับบัตรที่ดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท เป็นผู้กำหนดไว้ มีลักษณะเป็นรูสี่เหลี่ยมที่เจาะในแต่ละคอลัมน์ของบัตร เช่น ถ้าเจาะตำแหน่งคอลัมน์ที่ 12 และ 1 หมายถึงอักษร A ถ้าเจาะที่ตำแหน่งคอลัมน์ที่ 0 และ 9 หมายถึงอักษร Z เป็นต้น มีความหมายเหมือน card code |
extended ascii | รหัสแอสกีแบบขยายเดิมรหัสแอสกีจะมีสัญลักษณ์ 128 ตัวอักขระ แต่ต่อมาได้เพิ่มเป็น 255 ตัวอักขระ ชุดตัวอักขระ 255 ตัวนี้ที่เรียกว่ารหัสแอสกีขยาย ซึ่งจะเพิ่มรหัสสำหรับภาษาต่างประเทศ สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ และภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ วิธีใช้ ก็เพียงแต่กดแป้น ALT พร้อมกับเลขตั้งแต่ 51-255 กำหนดแบบอักษร (font) ที่เป็นภาพ เช่น Wingdings ก็จะได้สัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ถ้ากดแป้น ALT กับรหัส 255 จะได้สัญลักษณ์เป็นภาพสัญลักษณ์วินโดว์ |
file handle | รหัสเข้าสู่แฟ้มหมายถึง รหัสลับที่ใช้เป็นทางเข้าสู่แฟ้มข้อมูลในระบบดอส โดยปกติ เรา เพียงบอกแต่ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเปิด คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการให้ แต่ถ้าเป็นเรื่องลับ เราอาจสั่งให้ คอมพิวเตอร์นำชื่อไปแปลงเป็นตัวเลขก่อน ตัวเลขเหล่านี้ เรียกว่า " file handle" การเข้าสู่แฟ้มข้อมูล ต้องใช้รหัส เหล่านั้นเท่านั้น |
mnemonic code | รหัสช่วยจำหมายถึง วิธีการเรียกชื่อย่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อช่วยให้นึกถึงชื่อเต็มของสิ่งนั้นได้ดี เช่น อาจจะกำหนดตัวอักษรตัวแรกของคำไว้ใช้เป็นข้อคำสั่ง เช่น การกดแป้น Alt + F + S เป็นรหัสช่วยจำแทนคำสั่งเรียกเมนู File และเลือกคำสั่ง Save ในการเขียนโปรแกรมบางทีก็ใช้วิธีการนี้ได้ เช่น ถ้าคำใดยาว ก็อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น STO แทน store เป็นต้น |
numeric code | รหัสตัวเลขเป็นรหัสตัวเลขที่ใช้ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลข 1 จำนวน จะใช้ที่เก็บเป็นชุดของไบต์ 4 ชุด เรียกว่า wordดู word ประกอบ |
op code | รหัสดำเนินการย่อมาจาก operation code (แปลว่า รหัสดำเนินการ) หมายถึงส่วนของคำสั่งในภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ที่เป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติ เช่น คำสั่งให้เครื่องบวกหรือลบ เป็นต้น อีกส่วนหนึ่งของคำสั่งซึ่งเป็นตัวถูกดำเนินการ เรียกว่า operandดู operand เปรียบเทียบ |
p-code | รหัสพีหมายถึง รหัสเทียม (pseudocode) ที่ใช้กับระบบปฏิบัติการพี (P operating system) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการรุ่นเก่ารุ่นหนึ่ง รหัสพีนี้จะใช้ได้กับพีซีเกือบทุกยี่ห้อที่ใช้ระบบปฏิบัติการพี บัดนี้ไม่มีใครใช้กันแล้ว ทั้งระบบปฏิบัติการพี และรหัสพี |
pseudo code | รหัสเทียมรหัสลำลองหมายถึง การเขียนโปรแกรมโดยไม่ต้องคำนึงถึงไวยากรณ์ แต่เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจกันได้ มีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษธรรมดาส่วนหนึ่ง เป็นภาษาทำโปรแกรม (programming language) อีกส่วนหนึ่งดู programming language ประกอบ |
source code | รหัสต้นฉบับรหัสต้นทางหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวต้นฉบับของโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นโปรแกรมที่เครื่องแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เรียบร้อยแล้ว |
spaghetti code | รหัสสปาเกตตี้หมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยไม่มีตรรกะ ไม่มีหลักเกณฑ์ ขาดระเบียบ ไม่มีเทคนิคในการใช้โปรแกรมโครงสร้าง (คงจะหมายถึงว่า พันกันยุ่งเหยิงเหมือนกับเส้นสปาเกตตี้) |
access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ |
ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) |
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
atm. | abbr. 1. atmosphere, atmospheric 2. (เอทีเอ็ม) ย่อมาจาก automatic teller machine แปลว่า เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงิน ได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่ |
automatic teller machine | เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่ |
bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น |
bcd | (บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้ |
binary digit | เลขโดดฐานสองเรียกย่อ ๆ ว่า bit หมายถึง ตำแหน่งหนึ่งในเลขฐานสอง ซึ่งเป็นได้ 2 ค่า คือ 0 กับ 1 ใช้แทนค่าต่าง ๆ บิตเป็นหน่วยเล็กที่สุดของการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ในการเก็บค่า เรานำบิตมาจัดเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6-7-8 บิต เพื่อใช้เป็นรหัสแทนตัวอักขระต่าง ๆ ดู bit ประกอบ |
binary number system | ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด |
basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน,เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที |
binary coded decimal | เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001 |
bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน,สิ่งค้ำ,ของเล็ก ๆ น้อย ๆ ,ครู่เดียว,การกระทำ,บทบาทเล็กน้อย,เหรียญเล็ก ๆ ,หน่วย,กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ |
black box | กล่องดำหมายถึง แผงวงจรหรืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งแยกออกมาต่างหาก โดยปกติผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเข้าใจว่า วงจรนั้นทำงานอย่างไร เป็นต้นว่า การถอดรหัสสัญญาณ |
bus | (บัส) 1. {bussed,bussing,buses} n. รถโดยสารประจำทาง,รถเมล์,รถบัส,รถม้า,เครื่องบินโดยสาร,ตัวเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้าหลายวงจร,สายรวม, สายตัวนำใช้สำหรับการส่งสัญญาณ, หมายถึงวงจรหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อสำหรับส่งถ่ายขัอมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปสู่อีกอุปกรณ์หนึ่ง, สายตา 2. วงจรหรือทางเดินไฟฟ้าที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อสำหรับส่งอิเล็กตรอน ให้กระจายออกไปยังจุดต่าง ๆ คอมพิวเตอร์มีบัสไว้ เพื่อทำหน้าที่กระจายอิเล็กตรอน (ซึ่งแทรกรหัสข้อมูลไปตามจุดที่ต้องการภายในเวลาที่กำหนดให้) |
card reader | เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป |
character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) |
cipher | (ไซ'เฟอะ) {ciphered,ciphering,ciphers} n. เลขศูนย์,คนที่ไม่สำคัญ,สิ่งที่ไม่สำคัญ,สิ่งที่ไม่มีค่า,รหัสลับ,เครื่องหมายลับ,สัญลักษณ์ลับ,อักษรไขว้,ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข,เขียนเป็นระหัส,คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย: |
card punch | อุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ |
cardamom | n. กระวานคอลัมน์ (ของบัตร) สดมภ์ (ของบัตร) หมายถึง คอลัมน์หรือตำแหน่งเจาะตามแนวตั้งของบัตร บัตรทั่วไปจะมี 80 คอลัมน์ ในการเจาะแต่ละคอลัมน์นั้น ถ้าเจาะรูเดียว จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวเลข ถ้าเจาะ 2 รูในหนึ่งคอลัมน์จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวอักษร ถ้าเจาะ 1-3 รู อาจเป็นเครื่องหมายบางตัว เช่น + (บวก) - (ลบ) ฯลฯดู Hollerith code ประกอบ |
character graphics | อักขระภาพหมายถึง สัญลักษณ์หรือภาพต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นโดยการกดแป้นพิมพ์ ถือว่าเป็นแบบอักษร (font) แบบหนึ่ง (สำหรับเครื่องพีซี อาจใช้วิธีกดแป้น ALT+ เลขต่าง ๆ ตาม รหัสที่กำหนดไว้ก็ได้) เช่น แบบตัวอักขระภาพที่มากับระบบวินโดว์ของพีซี มีชื่อว่า Wingdings ส่วนของแมคอินทอช ชื่อ Zapf การขยายหรือลดขนาดภาพเหล่านี้ ใช้วิธีเดียวกับที่ทำกับแบบอักษรอื่น ๆ ไม่ใช่วิธีที่ทำกับภาพ |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
cipher | (n) รหัส,อักษรไขว้,สัญลักษณ์ลับ |
code | (n) ประมวลกฎหมาย,อักษรลับ,สัญญาณลับ,รหัส |
codify | (vt) ทำเป็นประมวล,ทำเป็นระเบียบ,รวบรวม,เข้ารหัส,จัดหมวดหมู่ |
coding | (n) การถอดรหัส,การอ่านรหัส |
cypher | (n) เลขศูนย์,รหัส |
decipher | (vt) ถอดรหัส,ถอดความ,แปลความหมาย |
watchword | (n) คำสัญญาณ,หลักสำคัญ,คำรหัส,คำขวัญ,คติพจน์ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
actual code | รหัสจริง [มีความหมายเหมือนกับ absolute code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
alphabetic code | รหัสตัวอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
American Standard Code for Information Interchange (ASCII) | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ (แอสกี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
bar code | รหัสแท่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
binary code | รหัสฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
character code | รหัสอักขระ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
cipher | รหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine code และ machine instruction code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
error code | รหัสระบุความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
error correcting code | รหัสแก้ความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC) | รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย (เอบซีดิก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
forbidden character code | รหัสอักขระต้องห้าม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
gray code | รหัสเกรย์ [มีความหมายเหมือนกับ cyclic code และ reflected code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Hollerith code | รหัสฮอลเลอริท [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine code | รหัสเครื่อง [มีความหมายเหมือนกับ computer code และ machine instruction code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mnemonic code | รหัสช่วยจำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mystic | รหัสยิก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mysticism | รหัสยลัทธิ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
numeric code | รหัสตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
op code; operation code | รหัสดำเนินการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
operation code; op code | รหัสดำเนินการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
password | รหัสผ่าน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
postal code; zip code | รหัสไปรษณีย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pseudo code | รหัสเทียม, รหัสลำลอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
source code | รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
zip code; postal code | รหัสไปรษณีย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ASCII (American Standard Code for Information Interchange) | แอสกี (รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
BCD (binary coded decimal) | บีซีดี (เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
binary coded decimal (BCD) | เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง (บีซีดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
code | ๑. รหัส, รหัสคำสั่ง [สัญลักษณ์ที่ใช้แทนข้อมูลหรือคำสั่ง]๒. คำสั่ง, โปรแกรม๓. ลงรหัส๔. เขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
coder | ๑. ตัวลงรหัส๒. ผู้ลงรหัส [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
coding | การเข้ารหัส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data encryption standard (DES) | มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล (ดีอีเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decode | ถอดรหัส [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decoder | ๑. ตัวถอดรหัส๒. ผู้ถอดรหัส [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decryption | การถอดรหัสลับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
DES (data encryption standard) | ดีอีเอส (มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) | เอบซีดิก (รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
encode | เข้ารหัส [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] |
Machine code | รหัสเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Password | รหัสผ่าน [คอมพิวเตอร์] |
pseudocode | รหัสคำสั่งลำลอง [คอมพิวเตอร์] |
source code | รหัสต้นฉบับคำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Zip code | รหัสไปรษณีย์ [การบัญชี] |
Coding | การเข้ารหัส,การลงรหัส [การแพทย์] |
Cryptography | การเข้ารหัส [TU Subject Heading] |
Decrypt | ถอดรหัส [คอมพิวเตอร์] |
Directory | นามานุกรม, ทำเนียบนามDirectory หมายถึง นามานุกรม หรือ ทำเนียบนาม คือ หนังสือที่รวบรวมรายชื่อของบุคคล หน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การ และบริษัทต่าง ๆ จัดเรียงรายชื่อตามลำดับอักษรหรือตามลำดับหมวดหมู่ โดยให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่อยู่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ถ้าเป็นนามานุกรมที่รวบรวมรายชื่อบุคคลจะจะให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อ นามสกุล สถานที่อยู่ ตำแหน่งหน้าที่การงาน หมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นนามานุกรมหน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การจะจะระบุชื่อของผู้ที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน และให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ปีที่จัดตั้ง วัตถุประสงค์และหน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ พร้อมด้วยหมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นชื่อบริษัท ห้างร้าน จะบอกรายชื่อของสินค้าที่จัดจำหน่ายประเภทของผลิตผล รหัสที่ใช้ในการติดต่อทางโทรเลข รวมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Encode | 1. การเข้ารหัส |
Encryption | การเข้ารหัสลับ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Gene | ยีนเนื่องจากการทำงานของเซลล์สิ่งมีชีวิตอาศัยการทำงานของโปรตีนมากมายหลายชนิด ดังนั้นดีเอ็นเอจึงประกอบด้วยรหัสสำหรับการสร้างโปรตีนจำนวนมาก รหัสหนึ่งชุดของดีเอ็นเอสำหรับการสร้างโปรตีนแต่ละชนิดเรียกว่า ยีน ในกระบวนการสร้างโปรตีนเริ่มต้นด้วยยีนถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) เรียกกระบวนการนี้ว่า transcription หลังจากนั้นรหัสของ mRNA แปลเป็นกรดอะมิโนเรียกกระบวนการนี้ว่า translation เมื่อกรดอะมิโนที่ได้มาต่อกันจะกลายเป็นโปรตีนตามชนิดที่เซลล์ต้องการ |
messenger RNA (mRNA) | อาร์เอ็นเอนำรหัส, อาร์เอ็นเอที่ถูกสร้างขึ้นจากดีเอ็นเอเพื่อนำเอารหัสในการสร้างโปรตีนออกมาสร้างโปรตีนที่ไซโทพลาซึม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
MP 3 (Audio coding standard) | เอ็มพี 3 (มาตรฐานรหัสเสียง) [TU Subject Heading] |
Tag | เขตข้อมูลเขตข้อมูล เป็นรหัสประกอบด้วยตัวเลข 3 ตัว ใช้ในการลงรายการทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ หรือ MAchine-Readable Cataloging (MARC) ซึ่งเป็นแต่ละเขตข้อมูลจะเป็นตัวบ่งบอกข้อมูล แบ่งเป็น 10 กลุ่ม |
Genome | จีโนม เนื่องจากการทำงานของเซลล์สิ่งมีชีวิตอาศัยการทำงานของโปรตีนมากมายหลายชนิด ดังนั้นดีเอ็นเอจึงประกอบด้วยรหัสสำหรับการสร้างโปรตีนจำนวนมาก รหัสหนึ่งชุดของดีเอ็นเอสำหรับการสร้างโปรตีนแต่ละชนิดเรียกว่า ยีน ในกระบวนการสร้างโปรตีนเริ่มต้นด้วยยีนถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) เรียกกระบวนการนี้ว่า transcription หลังจากนั้นรหัสของ mRNA แปลเป็นกรดอะมิโนเรียกกระบวนการนี้ว่า translation เมื่อกรดอะมิโนที่ได้มาต่อกันจะกลายเป็นโปรตีนตามชนิดที่เซลล์ต้องการ สำหรับยีนทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตเรียกว่า จีโนม |
Perkins Brailler | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่ความหมายเดียวกับ Braille Typewriter [Assistive Technology] |
Site-directed mutagenesis | การทำให้เกิดการกลายพันธุ์เฉพาะที่วิศวกรรมโปรตีนเป็นการศึกษาโปรตีนที่สนใจโดยการเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอเพื่อให้ได้โปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่ตำแหน่งที่ต้องการศึกษาเปลี่ยนแปลงไป เพื่อศึกษาหน้าที่และความสำคัญของกรดอะมิโน ดังนั้นการทำให้เกิดการกลายพันธุ์เฉพาะที่จึงมีความสำคัญต่องานวิศวกรรมโปรตีน โดยเริ่มจากดีเอ็นเอสายเดี่ยวซึ่งเป็นดีเอ็นเอต้นแบบ แล้วสังเคราะห์ดีเอ็นเอสายใหม่โดยการคัดลอกจากดีเอ็นเอต้นแบบโดยใช้ primer ที่มีเบสผิดไป 1 ตำแหน่ง ผลก็คือจะได้ดีเอ็นเอที่มีเบสผิดไป 1 ตำแหน่ง ซึ่งส่งผลให้เมื่อมีการแปลรหัสของดีเอ็นเอจะได้โปรตีนที่มีกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในตำแหน่งที่ต้องการ และเมื่อนำโปรตีนกลายพันธุ์ไปศึกษาหน้าที่จะทำให้รู้ว่ากรดอะมิโนในตำแหน่งนั้นมีความสำคัญต่อหน้าที่ของโปรตีนอย่างไร |
Transcription | กระบวนการถอดรหัสลำดับเบสของดีเอ็นเอเป็น messenger RNAกระบวนการสร้างโปรตีนเริ่มจากลำดับเบสของดีเอ็นเอถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription ต่อมาลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัว เช่น GCU เป็นอะลานีน (alanine) เรียกกระบวนการนี้ว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (tRNA มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) เมื่อผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนตามชนิดที่เซลล์ต้องการ |
Videoconference | การประชุมทางวีดิทัศน์การประชุมทางวีดิทัศน์ (Videoconference) คือ การนำเทคโนโลยีต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมมาผสมผสานกันในระบบการประชุมทางไกล ซึ่งเป็นการประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมอยู่ต่างกันคนละสถานที่ โดยไม่จำกัดระยะทาง สามารถประชุมร่วมกัน โต้ตอบซึ่งกันและกัน และติดต่อรับส่งข้อมูลได้ทั้งภาพและเสียง โดยใช้กล้องวิดีโอ ไมโครโฟน และจอโทรทัศน์ขนาดใหญ่หรือจอคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งในสถานที่ที่เชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่ายดิจิตอล และการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม โดยการบีบอัดภาพ เสียงและข้อความ กราฟิกต่างๆ ไปยังสถานที่ประชุมต่างๆ ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเห็นภาพและข้อความต่างๆ ได้ คุณภาพของภาพและเสียงที่ได้จะขึ้นอยู่กับความเร็วของช่องทางสื่อสารที่ ใช้เชื่อมต่อกันระหว่าง จุดต่อจุดหรือจุดต่อหลายๆจุดโดยผ่านระบบสื่อสาร อุปกรณ์ที่ต้องมีในระบบประชุมทางไกลนี้ ได้แก่ จอโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ ลำโพง ไมโครโฟน กล้อง และอุปกรณ์ Codec ซึ่งเป็นตัวเข้ารหัสสัญญาณภาพและเสียงที่ได้จากกล้องและไมโครโฟน โดยส่ง ผ่านเส้นทางสื่อสารไปยังอีกฝั่งหนึ่ง รวมถึงถอดรหัสสัญญาณที่ได้รับ มาอีกฝั่งให้กลับเป็นสัญญาณภาพ และเสียงแสดงบนจอและลำโพงนั่นเองเส้นทางสื่อสารขนาด 384 Kbps ขึ้นไปก็สามารถให้คุณภาพภาพในระดับที่ยอมรับได้ โดยอาจใช้ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISDN หรือ ATM เป็นต้น |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
code | (n.) รหัส See also: เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, ระบบสัญลักษณ์ Syn. cipher, cryptogram |
x ray | (n.) รหัสของอักษร x (ทางการติดต่อทางวิทยุระหว่างประเทศ) |
x-ray | (n.) รหัสของอักษร x (ทางการติดต่อทางวิทยุระหว่างประเทศ) |
call letters | (n.) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ |
call sign | (n.) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ |
password | (n.) รหัสผ่าน Syn. countersign, signal, watchword |
watchword | (n.) รหัสผ่าน See also: คำรหัส, คำสัญญาณ Syn. countersign, password |
cryptogram | (n.) รหัสลับ Syn. cryptograph |
cryptograph | (n.) รหัสลับ Syn. cryptogram |
combination | (n.) รหัสเปิดกุญแจ Syn. key, order |
postal code | (n.) รหัสไปรษณีย์ Syn. postcode |
post code | (n.) รหัสไปรษณีย์ (อเมริกา) |
postcode | (n.) รหัสไปรษณีย์ (อเมริกา) Syn. post code |
code | (vt.) เข้ารหัส See also: ใส่รหัส, ป้อนรหัส Syn. encode, encipher, cypher, encrypt |
code | (vt.) ถอดรหัสพันธุกรรม |
code word | (n.) คำรหัส See also: คำสำคัญที่ใช้ในการถอดรหัส |
combination lock | (n.) กุญแจที่เปิดด้วยรหัสตัวเลข |
countersign | (n.) คำรหัส Syn. password, watchword |
crack | (vt.) ถอดรหัส |
cryptograph | (n.) เครื่องใส่หรือถอดรหัส |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
Main Force repeats, this is a routine pursuit. | กำลังหลักซ้ำ นี่คือการแสวงหาประจำ รหัส 44 |
Sun City Sector 3, Code 4 Trauma in progress. | ซันซิตี้ ภาค 3 รหัส 4 บาดเจ็บ ในความคืบหน้า |
Sun City Sector 9, Code 4 in progress. | ซันซิตี้ภาค 9 รหัส 4 ในความ คืบหน้า |
You require the four-digit access code. | คุณต้องมี รหัส 4 หลัก |
It's heading north. I'll call it in anyway. N-7953? | มันมุ่งหน้าไปทางเหนือ ผมจะลองเรียกดู รหัส N-7953 ใช่มั้ย |
Non-police Bell Ranger, tail number N-7-9 | มีหน่วยนอกสังกัดเบลล์ เรนเจอร์ รหัส N-7-9 |
Stubby, scramble secret code set 1477. | เจ้าอ้วน ตั้งรหัสสัญญาณรบกวน รหัส 1477 |
Open the case. Sixty-five, thirty-two, fifteen. | เปิดกระเป๋าออก รหัส 65,32,15 |
Then behave yourself; Code 1 2; | ฉะนั้น ทำตัวให้ดีหน่อย รหัส 12 |
This is a code 4 on First and Broadway. | นี่ รัหัส 4 บนถนน First and Broadway รหัส 2 152 00: 19: |
Charlie 24, you wanna hold them there? | ชาร์ลี รหัส 24 มาช่วยยกตรงนั้นหน่อยได้มั้ย |
At 550 south broad in the slums -- code 3. | ทางใต้ ถนน 550 ในสลัม - - รหัส 3 |
Cracks. Codes. id swipes. | ทางลับ รหัส บัตรผ่าน |
Dispatch, Unit 1, Unit 3, we are 10-97 in code 100. | ส่งคนไป หน่วย1,3 เราอยู่ที่ 10-97 รหัส 100 |
E.M.T.S to grand and 6th priority 3! Code 1! Move! | รถฉุกเฉินมาที่ตรงถนนเส้นหลัก ตัดเส้นที่ 6 ความเร่้งด่วน 3 รหัส 1 มาเดี๋ยวนี้! |
Yeah. Yeah, code, code, code. | ใช่ ใช่ รหัส รหัส รหัส |
Hangang College, Performing Arts, Cha Dae-woong, class of 2013. | นายพูดว่าเรียนอยู่มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก คณะบทละคร รหัส 09 ชื่อชาแทอูงใช่ไหมล่ะ |
Foxtrot-Two-November, this is Yankee-Tango, over. We have a priority fire mission. We've located a major enemy command and control centre under grid 885-342. | พิกัดที่ 885342 เราจะยิงเลเซอร์ชี้เป้า รหัส 120 |
We will be lasing. | ย้ำอีกครั้ง เราจะยิงเลเซอร์ชี้เป้า รหัส 120 |
I was returning that book on codes and ciphers | ฉันกำลังย้อนกลับหนังสือเล่มนั้น ในเรื่อง รหัส และสิ่งที่ไม่สำคัญ |
There will be two passcodes one to open the phone, one to burn the drive. | -รหัสผ่านมี 2 รหัส หนึ่งเพื่อเปิด หนึ่งเพื่อทำลาย |
Patrol 19, stand by. Code 4-8. | หน่วย 19 สแตนบาย รหัส 4-8. |
He or she is using TOR to encrypt their TCP streams and cover their tracks, but I've been following the gaps between incoming and outgoing packets and they're narrowing. | พวกเขาใช้ รหัส TOR ในข้อมูล และมันครอบคลุมช่องสื่อสาร แต่ช่องว่างให้ฉันรับได้ ระหว่าง ข้อมูลที่รับเข้า และส่งออกไป |
The information that you've collected on this hard drive hold the access code to agent Cameron's chip. | ข้อมูลที่คุณได้มาใส่ ใน ฮาร์ดไดร์พตัวนี้ ซึ่งจะรวมถึง รหัส เข้าควบคุมชิบภายใน เจ้าหน้าที่คาเมร่อน |
All right, let's take a look at these codes. | เอาล่ะ เข้าไปดู รหัส โปรแกรมกันซะหน่อย |
I need those satellite codes. | ฉันต้องการ รหัส เข้า ระบบดาวเทียม |
Send me the codes, I'll see what I can do. | ส่ง รหัส มาให้ ฉัน แล้วจะดูว่าทำอะไรให้ได้ |
It's, uh, code for your own safety so that you can't reveal anything under enhanced interrogation. | มันคือ รหัส เพ่ือความปลอดภัยของคุณ เม่ือคุณไม่สามารถเปิดเผยอะไรได้ ภายใต้การซักถามที่เพิ่มขึ้น |
We have 3 transporters codes, Spider. | เรามี 3 รหัส transporters แมงมุม. |
All units, all units, code 99. | ทุกหน่วย ทุกหน่วย รหัส 99 |
All units, code 10-80. | หน่วยงานทั้งหมด \ รหัส 10-80 |
Peru. That's where the 0-8-4 was reported. | ไปที่เปรู เป็นที่ๆสถานการณ์ รหัส 0-8-4 ถูกรายงานมา |
We should warn the people who live around here if the 0-8-4 is dangerous. | เราน่าจะเตือนผู้คน บริเวณรอบๆนี้ ถ้าสถานการณ์ รหัส 0-8-4 นี่มันอันตรายจริงๆ |
Jerusalem tower, Reach 394. | ถึงหอบังคับการ รหัส 394 |
Alpha Protocol 28, Code 1-Alpha-Zero. | อัลฟาพิธีสาร 28 รหัส 1-แอลฟะ- ศูนย์ |
STE. 1829 PADDINGTON BASIN LONDON WC2 | แพคมา กรุ๊ป 47859 ถ.วอร์ฟ รหัส 1829 แพดดิงตัน เบซิน - ลอนดอน WC2 |
Code 1 progress. | รหัส 1 ในความคืบหน้า |
10-5, officer. Cancel backup request? | รหัส 10-5 ยกเลิกการขอกำลังเสริมใช่มั้ย |
Got a 1057, 1100 block of Hope Street. Over. | รหัส 1057 1100 ที่มุมถนน\ โฮป ทราบแล้วเปลี่ยน |
Code 333 in progress. | รหัส 333 ในความคืบหน้า |