English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
เศรษฐกิจ | (n.) economy See also: economic affairs |
เศรษฐกิจนอกระบบ | (n.) black economy See also: shadow economy |
เศรษฐกิจนอกระบบ | (n.) black economy |
เศรษฐกิจพอเพียง | (n.) sufficient economy |
เศรษฐกิจฟองสบู่ | (n.) bubble economy |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
autarky | (ออ'ทาร์คี) n. ความสามารถพึ่งพาตัวเองได้ของชาติในทางเศรษฐกิจ, นโยบายในการพึ่งตนเองในทางเศรษฐกิจของชาติ., Syn. autarchy -autarkic (al) adj. -autarkist n. |
depressed | (ดีเพรสดฺ') adj. หดหู่ใจ,เศร้า,ถูกกดลง,ตกต่ำ (เศรษฐกิจ) ,ซึ่งอยู่ต่ำ, Syn. sad ###A. cheerful |
depressing | (ดีเพรส'ซิง) adj. เศร้าโศก,หดหู่ใจ,ตกต่ำ (เศรษฐกิจ) ,ซึ่งถูกกดขี่ |
depression | (ดีเพรส'เชิน) n. การทำให้ตกต่ำ,ภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ำ,บริเวณที่มีความกดดันของอากาศต่ำ,ความกดดันของอากาศต่ำ,ที่เป็นแอ่งหลุมหรือเว้า |
economic | (อีคะนอม'มิค,เอคคะนอม'มิค) adj. เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์,เกี่ยวกับภาวะทางเศรษฐกิจ |
economics | (อีคะนอม'มิคซฺ,เอคคะนอม'มิคซฺ) n. เศรษฐศาสตร์,สภาพเศรษฐกิจ |
economy | (อีคอน'นะมี) n. เศรษฐกิจ,การประหยัด,รายได้,การเคหะ. adv. โดยสารชั้นประหยัด, Syn. frugality |
eec | abbr. European Economic Community องค์การร่วมทางเศรษฐกิจแห่งยุโรป |
heartland | (ฮาร์ท'แลนด์) n. ดินแดนส่วนกลางที่ยากแก่การถูกโจมตีมักมีความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง |
laissez faire | (เลสเซแฟรฺ') n. ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลควรเข้ายุ่งเกี่ยวในเรื่องเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด,ทฤษฎีการไม่ยุ่งเรื่องของผู้อื่น., See also: laissez-faire adj. ดูlaissez faire laisser-faire adj. ดูlaissez faire, Syn. laisser faire |
lefitst | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย,สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
left | (เลฟทฺ) adj. ซ้าย,ข้างซ้าย,ด้านซ้าย,มือซ้าย,ทางซ้าย,ปีกซ้าย,ฝ่ายซ้าย (นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์) n. ด้านซ้าย,สิ่งที่อยู่ทางซ้ายมือ,การหันซ้าย,การเลี้ยวซ้าย adv. ไปทางซ้าย v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ leave (จากไป,ลาจาก) -Phr. (the Left ผู้นิยมการปฏิรูประบบการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ,หมัดซ้าย |
leftist | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย,สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
marxism | (มาร์ค'ซิสซึม) n. ลัทธิของคาร์ลมาคซ์ที่เกี่ยวกับการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ เป็นลัทธิเจ้าตำรับของระบบคอมมิวนิสต์, See also: Marxist n.,adj. |
slump | (สลัมพฺ) vi.,n. (การ) ตกต่ำมาก,ตกฮวบลง,ซบเซา,ล้มลง,ลู่ต่ำลง,โค้งหลังลง,ลดอย่างฉับพลันและมาก,จมลง,ถลำลง,ระยะเศรษฐกิจตกต่ำ,ท่าหลังโกง,ความเงื่องหงอย,ความเศร้าซึม, Syn. fail,fall,slouch,decline |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
depression | (n) ความเศร้าใจ,ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ,ความตกต่ำ,ความกดอากาศต่ำ |
economic | (adj) เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์,ในทางเศรษฐกิจ,ในเรื่องเงิน |
economics | (n) เศรษฐศาสตร์,สภาพเศรษฐกิจ |
economy | (n) ความมัธยัสถ์,ความประหยัด,รายได้,เศรษฐกิจ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
autarky | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ [ดู self-sufficiency] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Common Market | ตลาดร่วมยุโรป, ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป [ดู European Economic Community (E.E.C.)] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
economic activity | กิจกรรมทางเศรษฐกิจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
economically active population | ประชากรที่ทำงานทางเศรษฐกิจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
harmonization of laws | การปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกัน (ระหว่างประเทศสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจยุโรป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laissez-passer (Fr.) | ๑. ปล่อยให้ผ่านไป (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม)๒. หนังสือผ่านแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recession | ภาวะเศรษฐกิจถดถอย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
self-sufficiency | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ [ดู autarky] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socioeconomic group | กลุ่มทางเศรษฐกิจสังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
warfare, economic | สงครามเศรษฐกิจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Informal sector (Economics) | เศรษฐกิจนอกระบบ [TU Subject Heading] |
Subsistence economy | เศรษฐกิจพอเพียง [TU Subject Heading] |
Botanical Garden | สวนพฤกษศาสตร์ เป็นพื้นที่คุ้มครองประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมพันธุ์ไม้ทุกชนิด ทั้งในและนอกประเทศที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ความสวยงามหรือที่หายากมาปลูกไว้เป็นลำดับตามหมวดหมู่ และตระกูล เพื่อการศึกษาวิจัยและการเผยแพร่ขยายพันธุ์ ให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชน และแก่ประเทศชาติต่อไป ในประเทศไทยมีอยู่ 5 แห่ง คือ สวนพฤกษศาสตร์พุแค จังหวัดสระบุรี สวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง จังหวัดตรัง [สิ่งแวดล้อม] |
Boycott | การคว่ำบาตร การกระทำร่วมกันเพื่อปฏิเสธการให้ความร่วมมือ กับองค์กรหนึ่ง ๆหรือประเทศหนึ่ง ๆ เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วย หรือเป็นการขู่ให้องค์การหรือประเทศนั้น ๆ ปฏิบัติตามที่ตนต้องการ การคว่ำบาตรนี้ส่วนใหญ่จะใช้เป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจที่ประเทศหนึ่ง ใช้ต่อต้านอีกประเทศหนึ่งด้วยการปฏิเสธการขนส่งสินค้าที่นำผ่านแดนของตน การไม่ซื้อหรือขายสินค้าบางอย่าง รวมทั้งการชักชวนให้ประเทศอื่นๆ เข้าร่วมการต่อต้านด้วย [สิ่งแวดล้อม] |
Brackish or Estuaries Ecosystem | ระบบนิเวศน้ำกร่อย ระบบนิเวศในบริเวณที่น้ำมีความเค็มตั้งแต่ 2-30 ส่วนในพันส่วน เป็น ระบบนิเวศบริเวณปากแม่น้ำบริเวณที่มีการผสมผสานกันระหว่างน้ำจืด และน้ำทะเล มีการเปลี่ยนแปลงความเค็มตามฤดูกาล แต่ละบริเวณจะมี ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและขนาดแตกต่างกันไป บริเวณน้ำกร่อยนี้ โดยทั่วไปเป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุ อาหาร และผลผลิตทางชีวภาพสูง เนื่องจากได้รับสารอาหารมาจากแม่น้ำ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำวัยอ่อนที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ องค์ประกอบที่สำคัญของบริเวณน้ำกร่อยในเขตร้อน คือ ป่าชายเลน (Mangrove Forest) [สิ่งแวดล้อม] |
Celibacy | การครองโสดถาวร บุคคลที่ยังไม่เคยสมรสคำที่มีความหมายเหมือน กัน คือสถานภาพโสด (single) (11) หมวดประชากร เศรษฐกิจ และสังคม [สิ่งแวดล้อม] |
Economic administration | การบริหารเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Economic geography | ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Economic system | ระบบเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Economical Status | ภาวะเศรษฐกิจ [การแพทย์] |
Exclusive Economic Zone | เขตเศรษฐกิจจำเพาะ |
Guarantee Price | ราคาประกัน ราคาสินค้าซึ่งมักจะเป็นสินค้าเกษตรที่รัฐบาล กำหนดเป็นราคาขั้นต่ำที่รัฐบาลรับรองว่าเกษตรกรจะสามารถขายได้ ด้วยการให้การอุดหนุนในรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรซึ่งมักมีฐานะทางเศรษฐกิจด้อยกว่าผู้ผลิตสาขา อุตสาหกรรมและสาขาบริการ [สิ่งแวดล้อม] |
Household | ครัวเรือน หน่วยทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วยบุคคลหลายคนอาศัยอยู่ร่วมกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Neighbouring Countries Economic Development Cooperation Fund | กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน |
Ore | สินแร่ หินหรือแร่ประกอบหินที่มีแร่เศรษฐกิจปนอยู่ใน ปริมาณ ที่จะทำเหมืองได้กำไร สินแร่ที่แต่งให้สะอาดแล้ว เรียกว่า "หัวแร่" (Concentrate) และกากที่ปล่อยทิ้งไป เรียกว่า "หางแร่" (Tailing) [สิ่งแวดล้อม] |
Quadrangle Economic Cooperation | กรอบความร่วมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ |
Socioeconomic condition | ภาวะเศรษฐกิจสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Standard of Living | มาตรฐานการครองชีพ ความพอเหมาะที่สุดทางเศรษฐกิจ การวัดจะใช้ค่าประมาณของรายได้ประชาชาติแท้จริงต่อคน (real national income per capita) คือผลรวมของสินค้า และบริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หารด้วยจำนวนประชากรรวมในเวลาเดียวกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Floating Exchange Rate | อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว การปล่อยให้อัตราแลกเปลี่ยนสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพอุปสงค์และอุปทานในตลาดการเงิน ระบบนี้ได้รับการนำมาใช้โดยประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ เมื่อต้นทศวรรษที่ 1970 เนื่องจากเห็นว่าระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในระบบเศรษฐกิจ อัตราแลกเปลี่ยนในสกุลหนึ่งจะอ่อนหรือแข็ง ขึ้นอยู่กับอัตราเงินสำรองระหว่างประเทศของประเทศนั้นที่เป็นเงินตราสกุล แข็ง (ดู Hard Currency) และทองคำ รวมทั้งอัตราภาวะเงิเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และความแข็งแกร่งของระบบเศรษฐกิจของประเทศนั้น อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงได้ (Flexible Exchange Rate) [สิ่งแวดล้อม] |
Fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานเป็นวิธีการวิเคราะห์หลักทรัพย์แบบหนึ่ง การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานมุ่งจะประเมินมูลค่าของหลักทรัพย์ในปัจจุบัน โดยพิจารณาถึงผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับและราคาหลักทรัพย์ที่คาดว่าจะขายได้ในอนาคต ผลจากการวิเคราะห์นี้จะใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินใจคือ จะซื้อหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวต่ำกว่ามูลค่าตามพื้นฐานที่คำนวณได้ และจะขายหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวสูงกว่ามูลค่าตามพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะวิเคราะห์ถึงภาวะเศรษฐกิจ ภาวะการเมือง ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และผลการดำเนินงาน รวมทั้งฐานะทางเงินของบริษัทผู้ออกหุ้น วิธีวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะแตกต่างจากการวิเคราะห์ทางเทคนิค (technical analysis) ซึ่งมุ่งวิเคราะห์ลักษณะการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ และปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์เป็นสำคัญ เพื่อคาดหมายแนวโน้มของราคาหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Infrastructure | โครงสร้างพื้นฐาน ระบบพื้นฐานการขนส่ง เช่น ถนน ทางรถไฟ สนามบิน การสื่อสาร โทรคมนาคม เป็นต้น อุตสาหกรรมหลัก และระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ของประเทศหนึ่ง โครงสร้างพื้นฐานจะเป็นรากฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่อไป การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาจะช่วยดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติได้ [สิ่งแวดล้อม] |
Subcommittee on Neighbouring Countries Economic Development Cooperation | คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน |
Unrecoverable Volumes | ปริมาณน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่ประมาณได้ปริมาณน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่ประมาณได้ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งว่าจะเหลืออยู่ในแหล่งกักเก็บหลังจากที่หยุดผลิตไปแล้ว เนื่องจากไม่สามารถผลิตได้โดยเทคโนโลย ีและสภาพเศรษฐกิจที่คาดการณ์ได้ ณ เวลานั้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง |
weed | วัชพืช, พื่ชที่ไม่มีประโยชน์หรือไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพืชที่แย่งอาหารพืขที่เพาะปลูกในเรือกสวนไร่นา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Worker | คนงาน หมวดประชากร เศรษฐกิจ และสังคม หมายถึง แบ่งเป็นประเภทต่างได้ดังนี้ 1) Blue Collar Worker 2) Clerical and Office Worker 3) Home Worker และ 4) Independent Worker หมวดกฎหมายสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผู้ซึ่งทำงานในอาคารโรงงานทั้งนี้ไม่รวมถึงผู้ ที่ทำงานในฝ่ายธุรการ [สิ่งแวดล้อม] |
Mixed Economy | ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ระบบเศรษฐกิจที่มีทั้งลักษณะของระบบทุนนิยม และระบบสังคมนิยมในระบบเศรษฐกิจผสมทั้งรัฐบาล และเอกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของโลกเสรีปัจจุบันจะมีทั้งกิจการ อุตสาหกรรมที่เป็นของรัฐและเอกชนในสัดส่วนแตกต่างกัน แม้แต่ในสหรัฐอเมริกาที่เป็นประเทศเสรีมากที่สุดก็ยังมีกิจการหลายประเภท ดำเนินการโดยรัฐ [สิ่งแวดล้อม] |
Multinational Company | บริษัทข้ามชาติบริษัทที่มีฐานการผลิตหรือการลงทุนโดยตรงอยู่ในต่างประเทศอย่างน้อยหนึ่งประเทศและครอบคลุมกิจการระดับโลก ตัวอย่างของบริษัทประเภทนี้ อาทิ บริษัทน้ำมันเอสโซ่ (Esso) หรือ เอกซอน (Exxon) ของสหรัฐอเมริกา บริษัทข้ามชาติได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 และมีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศที่บริษัทข้ามชาตินั้นๆ เข้าไปดำเนิน กิจการโดยเฉพาะการจ้างงาน การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในประเทศนั้น อย่างไรก็ตามบทบาทในแง่ลบของบริษัทข้ามชาติต่อประเทศที่เข้าไปลงทุน ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่โดยเฉพาะในด้านการใช้ทรัพยากรธรรมขาติอย่างมากของของบริษัทข้ามชาติ ซึ่งเป็นต้นทุนของประเทศในระยะยาว [ปิโตรเลี่ยม] |
Newly Industrialized Countries (NICs) | ชื่อที่ใช้เรียกประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศที่ มี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ธนาคารโลกถือว่า ประเทศที่มีมูลค่าการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ระหว่างร้อยละ 22-27 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ดู GDP) นั้นจึงจะอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ในแถบเอเชียมีประเทศที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แล้ว 4 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน ฮ่องกง สาธารณรัฐเกาหลี และสิงคโปร์ สำหรับไทยหากพิจารณาตามเกณฑ์ของธนาคารโลกแล้ว ในขณะนี้จัดได้ว่าเริ่มเข้าสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ เนื่องจากมีสัดส่วนมูลค่าการผลิตภาคอุตสาหกรรมต่อผลผลิตรวมภายในประเทศ ประมาณร้อยละ 48 ใน พ.ศ. 2538 [สิ่งแวดล้อม] |
Opportunity Cost | ต้นทุนค่าเสียโอกาส ผลประโยชน์ที่เสียไปเนื่องจากการไม่ใช้ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มีอยู่อย่างจำกัด อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่างเช่น ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการทำงานในกิจการ ของตนเองของบุคคลหนึ่ง ก็คือค่าจ้างสูงสุดที่เขาจะได้รับ จากการทำงานในที่อื่น ๆ นักเศรษฐศาสตร์ใช้แนวคิดของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการตัดสินว่ามีการใช้ ทรัพยากรนั้นอย่างมีคุณค่าหรือไม่ จากตัวอย่างข้างต้นการทำงานในกิจการของตนเองของบุคลหนึ่งจะถือว่ามี ประสิทธิภาพสูงสุดก็ต่อเมื่อรายได้ที่เขาได้รับจากการทำงานที่อื่นๆ มีสำนวนที่พูดกันเสมอๆ ว่า"ไม่มีอาหารกลางวันที่ได้มาดดยไม่ต้องซื้อ (There is no such thing as afree lunch)" ซึ่งสะท้อนให้เห็นความจริงในโลกที่ว่าสินค้าปละบริการต่างๆ ทุกชนิดต่างก็มีต้นทุนค่าเสียโอกาศทั้งสิ้น [สิ่งแวดล้อม] |
Overseas Economic Corporation Fund | กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเล กองทุนที่ก่อตั้งโดยประเทศญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2504 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และภูมิภาคอื่น ๆ กองทุนนี้จะให้กู้ยืมแก่รัฐบาลและบริษัทใน ประเทศกำลังพัฒนา และให้กู้หรือร่วมทุนกับบริษัทญี่ปุ่น [สิ่งแวดล้อม] |
Residual Deposits | แหล่งแร่จากการผุพังอยู่กับที่ หินเปลือกโลกที่ผุพังอยู่กับที่ (Weathering) แร่ที่อยู่ในหินบางชนิดละลายน้ำได้ก็จะละลายไป ส่วนที่ไม่ละลายหรือทนทานต่อการผุพังก็จะคงเหลืออยู่ และสะสมกันมากขึ้นจนเกิดเป็นแหล่งแร่มีค่าทางเศรษฐกิจได้ เช่น แหล่งแร่แมงกานีส แร่บ๊อกไซท์ ในบริเวณบางแห่งนอกจากหิน จะผุพังแล้วยังถูกพาไปจากแหล่งเดิมและสะสมกันในท้องธารน้ำ หรือหุบเขา เกิดเป็นแหล่งลานแร่ แหล่งลานแร่ที่สมบูรณ์ มักพบว่าต้นกำเนิดอยู่ใกล้ ๆ นั่นเอง เช่น แหล่งแร่ดีบุก แร่ทองขาว เพชร เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
Self-Sufficiency Economy | ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้ ความสามารถของเมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่งๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาสินค้านำเข้า ข้อได้เปรียบสำคัญของ ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้คือ ไม่ต้องพึ่งพาสินค้าจำเป็นขั้นพื้นฐานจากประเทศอื่นที่อาจมีราคาแพงเกินไป เมื่อเกิดวิกฤตน้ำมันขึ้นราคาครั้งใหญ่ใน พ.ศ. 2516 ได้กระตุ้นให้มีการค้นหาและผลิตน้ำมันปิโตรเลียมในสหรัฐอเมิรกาและประเทศ ต่างๆ เพื่อให้พึ่งพาตนเองในด้านพลังงานและเชื้อเพลิงได้ ข้อเสียสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบนี้ คือ กระตุ้นให้มีการปกป้องผู้ผลิตในประเทศที่ด้อยประสิทธิภาพ [สิ่งแวดล้อม] |
Stagnation | ภาวะเศรษฐกิจชะงักงัน อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ หนึ่งๆ ที่อยู่ในสภาวะที่ไม่น่าพึงพอใจ ไม่ว่าจะเป็นผลผลิตที่แท้จริงต่อหัว หรือรายได้ประชาชาติ สภาพของภาวะเศรษฐกิจแบบนี้แสดงให้เห็น ได้โดยผลผลิตหรือรายได้มีจำนวนคงที่ ลดลง หรือเพิ่มขึ้นน้อยกว่าที่เคยเป็นมาอย่างมาก สาเหตุเกิดมาจาก 1) การที่อัตราการเพิ่มของผลผลิตน้อยกว่าอัตราการเพิ่มประชากร 2) อุปสงค์รวมในประเทศมีไม่เพียงพอที่จะทำให้ระบบเศรษฐกิจเจริญเติบโตได้อย่าง เพียงพอ แม้ว่าระบบเศรษฐกิจนั้นจะมีศักยภาพในการเจริญเติบโตก็ตาม [สิ่งแวดล้อม] |
Sunrise Industry | อุตสาหกรรมตะวันรุ่ง อุตสาหกรรมที่มีความเจริญเติบโตสูงจนเชื่อกัน ว่า จะเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของระบบเศรษฐกิจในอนาคต แทนอุตสาหกรรมดั้งเดิมที่เติบโตมานานและค่อย ๆ ลดอัตราการเจริญเติบโตลง (sunset industry) แม้ว่าอุตสาหกรรมเดิมซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังต่าง ๆ จะยังคงมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจอยู่ แต่เชื่อกันว่าบทบาทนำในการเป็นแหล่งจ้างงานจะถูกแทนที่โดยอุตสาหกรรมดาว รุ่ง ซึ่งได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงและที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมบริการ [สิ่งแวดล้อม] |
Sunset Industry | อุตสาหกรรมตะวันตกดิน ดู Sunrise Industry (Sunrise Industry หมายถึง อุตสาหกรรมที่มีความเจริญเติบโตสูงจนเชื่อกัน ว่า จะเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของระบบเศรษฐกิจในอนาคต แทนอุตสาหกรรมดั้งเดิมที่เติบโตมานานและค่อย ๆ ลดอัตราการเจริญเติบโตลง (sunset industry) แม้ว่าอุตสาหกรรมเดิมซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังต่าง ๆ จะยังคงมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจอยู่ แต่เชื่อกันว่าบทบาทนำในการเป็นแหล่งจ้างงานจะถูกแทนที่โดยอุตสาหกรรมดาว รุ่ง ซึ่งได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงและที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมบริการ ) [สิ่งแวดล้อม] |
Transnational Corporations (TNCs) | บรรษัทข้ามชาติ คำทางการของสหประชาชาติที่ใช้เรียกบริษัทข้าม ชาติ (ดู Multinational Company) ซึ่งหมายถึงบริษัทเอกชน ที่มีการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ บรรษัทข้ามชาติมักจะมีอำนาจ ทางเศรษฐกิจที่จะครองงำรัฐบาล หรือเศรษฐกิจภายในของประเทศ ที่กำลังพัฒนาได้ในบางกรณี และประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศจะมองบรรษัทข้ามชาติในแง่ที่มีการกอบโกย ทรัพยากรธรรมชาติไปเป็นจำนวนมาก [สิ่งแวดล้อม] |
World Bank | ธนาคารโลก มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา (International Bank for Reconstruction and Development หรือ IBRD) เกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง จากข้อตกลงแห่งเมืองเบรตตันวูดส์ (ดู Bretton Wood) สหรัฐอเมริกา เริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2499 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริการ โดยทำหน้าที่ระดมเงินทุนระหว่างประเทศ เพื่อใช้ในการบูรณะและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ส่งเสริมความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงิน และเสริมสร้างสันติสุขระหว่างประเทศสมาชิก จุดมุ่งหมายหลักในปัจจุบันของธนาคารโลก คือ การจัดหาเงินทุน และความช่วยเหลือทางวิชาการ แก่ประเทศผู้กู้ยืมที่เป็นประเทศกำลังพัฒนา ความช่วยเหลือของธนาคารโลกที่ผ่านมาร้อยละ 90 ของปริมาณเงินกู้ยืมทั้งหมดจะใช้ในโครงการสาธารณุปโภคขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษา การสาธารณสุข การชลประทาน การสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น มีสมาชิก 179 ประเทศ (ปี 2538) รวมทั้งประเทศไทย [สิ่งแวดล้อม] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
all walks of life | (idm.) ทุกชนชั้นทางสังคม เศรษฐกิจ และเชื้อชาติ See also: ทุกประเภท |
ideologic | (adj.) เกี่ยวกับระบบความคิดอันเป็นรากฐานของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง See also: เกี่ยวกับลัทธิ, เกี่ยวกับอุดมการณ์ |
ideological | (adj.) เกี่ยวกับระบบความคิดอันเป็นรากฐานของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง See also: เกี่ยวกับลัทธิ, เกี่ยวกับอุดมการณ์ Syn. theoretical, visionary |
economy | (n.) เศรษฐกิจ See also: รายได้ |
basket case | (n.) องค์กรหรือประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจตกต่ำมาก |
deflation | (n.) การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ See also: การหดตัวทางเศรษฐกิจ Syn. anticlimax, contraction |
demand-side | (adj.) เกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นไปที่ความต้องการสินค้าและการอุปโภคบริโภค |
depression | (n.) ความตกต่ำทางเศรษฐกิจ Syn. slump, recession, downslide Ops. upturn, rise |
destabilise | (vt.) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ) See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ (โดยเฉพาะทางการเมือง) |
destabilize | (vt.) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ) See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ (โดยเฉพาะทางการเมือง) |
downslide | (n.) ความตกต่ำทางเศรษฐกิจ Syn. slump, recession Ops. upturn, rise |
economic | (adj.) เกี่ยวกับเศรษฐกิจ See also: ในทางเศรษฐศาสตร์ |
economic geography | (n.) ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ |
economic society | (n.) สังคมเศรษฐกิจ |
economic system | (n.) ระบบเศรษฐกิจ |
economically | (adv.) ในเชิงเศรษฐกิจ See also: เกี่ยวกับเศรษฐกิจ, เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ Syn. frugally, sparingly |
European Economic Community | (n.) ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป |
frugally | (adv.) ในเชิงเศรษฐกิจ See also: เกี่ยวกับเศรษฐกิจ, เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ Syn. sparingly |
ideas | (n.) แนวคิดอันเป็นรากฐานของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง See also: อุดมการณ์ Syn. belief, philosophy |
ideology | (n.) แนวคิดอันเป็นรากฐานของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง See also: อุดมการณ์ Syn. belief, ideas, philosophy |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
Then the economy, boom! | จากนั้นก็ เศรษฐกิจ ตูม! |
How about get your old job back? | สกายเลอร์ คุณจะมาทำแผนกบัญชีให้เรา เศรษฐกิจ คุณรู้นะ งั้น... |
There's no ideology behind this. | ไม่มีแนวคิดเกี่ยวกับสังคม, เศรษฐกิจ เบื้องหลังเรื่องนี้แล้ว |
Maybe I'm upset about my golf swing or the economy... or maybe it's because I killed a guy. | บางทีอาจเพราะ ผมหงุดหงิดเรื่องวงสวิงของผม หรือเรื่อง เศรษฐกิจ หรือ บางทีอาจเพราะผมฆ่าคนไง |
The economics, Formula 1, realities thereof. | เศรษฐกิจ, สูตร 1 ความเป็นจริงดังกล่าว |
Economic downturn hit it hard -- lots of empty warehouses. | เศรษฐกิจกิจแย่ส่งผลหนัก หลายๆแห่งกลายเป็นโกดังร้าง |
The economy of this country is a lot stronger than the spirit of those people that I see... | เศรษฐกิจของประเทศนี้ เข้มแข็งกว่าจิตวิญญาณของคนที่ข้าพเจ้าเห็น... |
Their economy fluctuates up and down in a way they can't predict. | เศรษฐกิจของพวกเขาขึ้นๆลงๆ ในแบบที่พวกเขาคาดไม่ถึง |
The recession's hitting everybody, I guess. | เศรษฐกิจตกต่ำ กระทบทุกคนนั่นแหละ ฉันว่านะ |
Economy gets bad, people give less. | เศรษฐกิจตกต่ำ คนให้กันน้อยลง |
And we got a store full of stuff. | เศรษฐกิจตอนนี้ มันลงชักโครกไปแล้วจริง ๆ |
An economy that's surging. | เศรษฐกิจที่พุ่งสูงขึ้น |
An economy that doesn't depend on the subjugation of smaller countries. | เศรษฐกิจที่ไม่ได้ ขึ้นอยู่กับการกดขี่ประเทศที่เล็กกว่า |
The economy's tighter than bark on a tree. | เศรษฐกิจมันแย่น่ะ คุณก็รู้ |
The economy was in the toilet. | เศรษฐกิจย่ำแย่สิ้นดี |
South Korea's economic growth started, it has maintained the status of the best company, and kept growing and growing and then reached the level of a multinational renowned corporation, its name is Shinhwa. | เศรษฐกิจเกาหลีเริ่มขยายตัว บริษัทยังคงเป็นความเป็นที่หนึ่งไว้ได้ และยังสมามารถเติบโต จนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของนานาประเทศ นั่นก็คือ ชินฮวา กรุ๊ป |
The economy burned down your house? | เศรษฐกิจเผาบ้านนายหรอไง |
In this economy, people aren't eating out as much. | เศรษฐกิจแย่แบบนี้ คนไม่ออกมากินข้าวนอกบ้านกันหรอก |
The world economy would collapse. | เศรษฐกิจโลกก็คงล่มสลายไปแล้ว |
These new towns are part of their economy. | เมืองใหม่เหล่านี้ ก็จะเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญ |
I thought Freedom Road was just supposed to benefit the economy. | {\cHFFFFFF}ฉันคิดว่าถนนอิสรภาพเป็นเพียง ควรที่จะได้รับประโยชน์ทางเศรษฐกิจ |
Whose economy? | {\cHFFFFFF}ซึ่งมีเศรษฐกิจ? |
But I really get mad... when I hear the talk about the economy. | {\cHFFFFFF}แต่ผมได้รับบ้า ... {\cHFFFFFF}เมื่อฉันได้ยินการพูดคุย เกี่ยวกับเศรษฐกิจ |
It would open up this timber area for development, which would benefit the economy; | มันจะเปิดพื้นที่ป่าไม้นี้ การพัฒนาซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ; |
I heard that the New York economy is so bad that the Mafia has laid off five judges. | ผมได้ยินมาว่าที่นิวยอร์ค เศรษฐกิจกำลังตกสะเก็ด จนมาเฟียต้องเลิกจ้าง ผู้พิพากษา 5 คน |
It's ready to go! | แล้วก้อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจน่ะครับ |
Record payoffs to the Main Administration and Economics Office, the Arm-- | บันทึกจ่ายกรมเศรษฐกิจ... |
Well, the regime that took over Gavel after the revolution demands financial aid supposedly for redevelopment. | , ได้สิ, เรื่องระบอบการปกครอง ของแกเวลภายหลังการปฏิวัติด้านเศรษฐกิจ.. , ...คิดว่าคงจะเพื่อการกลับมาพัฒนากันอีกครั้ง |
And now with the prospect of a major investment in our economic future... by Mr. Elliot Blair of Blair Industries... | และตอนนี้กับโอกาสของการที่สำคัญ การลงทุนในอนาคตทางเศรษฐกิจของเรา ... โดยนายเอลเลียตแบลร์ แบลร์ของอุตสาหกรรม ... |
But until you can get it in your head there are politics involved... delicate politics, not to mention economics, you're only gonna do these people more harm than good. | แต่จนกว่าคุณจะได้รับมันในของคุณ หัวมีส่วนร่วมทางการเมือง ... การเมืองที่ละเอียดอ่อน ไม่ต้องพูดถึงเศรษฐกิจ คุณเท่านั้นที่จะทำคนเหล่านี้ อันตรายมากกว่าดี |
I was just hoping you might give me some insight into the evolution... of the market economy in the southern colonies. | วิวัฒนาการของตลาดเศรษฐกิจใน อาณานิคมใต้ |
My contention is that prior to the Revolutionary War, the economic modalities- especially in the southern colonies- could most aptly be characterized as... | ในความเห็นของชั้นก็คือ ก่อนที่จะ มีสงครามปฎิวัติ-รูปแบบของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในอาณานิคมใต้ เป็นรูปเป็นร่างที่เหมาะสมแบบเปรียบ ชาวไร่ชาวนา |
Then you're gonna be talkin' about how the economies of Virginia and Pennsylvania... were entrepreneurial and capitalist way back in 1740. | แล้วจะบอกว่าเศรษฐกิจของเอวจิเนียกับ แพนวิลวาเนียเป็นแบบรัฐวิสาหกิจ กับนายทุนย้อนไปเมื่อปี 1 740 |
Bring to an end the Soviet empire... and its 70 year experiment of comunism continuing stife in ... regions, along with widespread corruption and economic misery resulting in a virtual tidal wave of crime. the Russian maffia has involved into a world clas | เกิดคอรัปชั่น และการเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจขึ้นทั่วไป รวมทั้งปัญหาอาชญากรรม เกิดมาเฟียซึ่งมีเครือค่ายย่อย ๆ ขึ้นในรัสเซีย |
I didn't have a major, but my thesis was on Latin American economic policy. | ฉันไม่มีวิชาเอก แต่ทำวิทยานิพนธ์ เรื่องนโยบายเศรษฐกิจลาตินอเมริกา |
The universe of numbers that represents the global economy. | ตัวเลขจำนวนมหาศาลที่แสดงถึงเศรษฐกิจมหภาค |
A universe of numbers that represents the global economy. | ตัวเลขจำนวนมหาศาล ที่แสดงถึงเศรษฐกิจมหภาค มือคนเป็นล้านคนทำงาน |
'The Japanese Economy and the Movement to Direct Investment'. | 'เศรษฐกิจญี่ปุ่นและการเคลื่อนย้ายการลงทุน' |
Less than a year later, the Great Depression that swept the nation... hit Savannah. | ไม่ถึงปีถัดมา วิกฤตเศรษฐกิจ ก็ส่งผลถึงซาวันน่าห์ |
Did I miss somethin' ? Did I ? Or are we not in the midst of a great depression ? | นี่เราไม่ได้อยู่ในวิกฤตเศรษฐกิจรึไง |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
経済 | [けいざい, keizai] Thai: เศรษฐกิจ English: economics |