English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
computer | (n.) ผู้คำนวณ |
computer | (n.) เครื่องคอมพิวเตอร์ |
computer disk | (n.) จานแม่เหล็ก (สำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์) See also: แผ่นแม่เหล็ก |
computerize | (vt.) ทำด้วยคอมพิวเตอร์ |
computerized | (adj.) ซึ่งรับส่งข้อมูลด้วยการใช้ตัวเลข Syn. numerical |
desktop computer | (n.) พื้นหลังของจอภาพคอมพิวเตอร์ |
home computer | (n.) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว Syn. microprocessor |
microcomputer | (n.) เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ See also: เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก Syn. microprocessor |
minicomputer | (n.) เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก |
personal computer | (n.) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว Syn. microprocessor, home computer |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ |
apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ |
computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
computer aided manufactur | การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
computer aided software e | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์ |
computer aided system eng | วิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย |
computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education |
computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์,เครื่องคำนวณ,ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
computer aided instructio | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน |
computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ |
computer audit | การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการตรวจสอบการประมวลผลเพื่อความถูกต้องทางบัญชี |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm |
computer hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์เซียนคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์จนเชี่ยวชาญ บางทีเรียกว่า เซียนคอมพิวเตอร์ หรือนักเลงคอมพิวเตอร์ |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ |
computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามคำสั่ง เช่น อ่านข้อมูล นำข้อมูลไปเก็บ นำข้อมูลมาบวก ลบ ฯ เป็นต้น แล้วได้ผลตามที่ต้องการ |
computer network | ข่ายงานคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงระบบการนำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง หรือเครื่องปลายทาง (terminal) หลาย ๆ เครื่องมาทำงานร่วมกัน โดยอาจใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน เช่น สื่อนำข้อมูลเข้า/ออก เครื่องพิมพ์ โมเด็ม (modem) เป็นต้น การทำงานเป็นเครือข่ายจะทำให้ดึงข้อมูลจากกันและกันมาใช้ หรือใช้ร่วมกันได้ |
computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ |
computer output on microf | ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120,000 ตัวอักษรต่อวินาที |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้ |
computer system | ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง หรือหนึ่งชุด ซึ่งประกอบด้วย 1. หน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น แป้นพิมพ์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (cetral processing unit) 3. หน่วยแสดงผล (output unit) เช่น จอภาพ เป็นต้น |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย |
computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ |
computer vendor group | กลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ |
computerese | (สคัมพิวทะริซ) n. ภาษารหัสคอมพิวเตอร์ นักคอมพิวเตอร์หมายถึงคำศัพท์หรืออาจเป็นสำนวนต่าง ๆ ที่นักคอมพิวเตอร์มักใช้ และเป็นที่รู้จักในวงการนักคอมพิวเตอร์ด้วยกัน เช่น garbage ปกติแปลว่าขยะ นักคอมพิวเตอร์นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ |
computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส |
computer-aided instructio | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction |
computer-aided translatio | การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ |
computer-assissted instru | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
computer | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์,เครื่องคำนวณ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
all-purpose computer; general-purpose computer | คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
analog computer | คอมพิวเตอร์เชิงอุปมาน, แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CAD (computer-aided design) | แคด (การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CAE (computer-aided engineering) | ซีเออี (งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CAI (computer-aided instruction; computer-assisted instruction) | ซีเอไอ (การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CAT (computer-aided translation) | ซีเอที (การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CIM (computer input from microfilm) | ซีไอเอ็ม (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CNC (computerized numerical control) | ซีเอ็นซี (การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computer | คอมพิวเตอร์, คณิตกรณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer architecture; architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer audit | การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine code และ machine instruction code] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer hacker; hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์, เซียนคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer language | ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ [มีความหมายเหมือนกับ machine language] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer network | ข่ายงานคอมพิวเตอร์, เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์, การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
COM (computer output on microfilm) | ซีโอเอ็ม, คอม (ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer-aided instruction; computer-assisted instruction (CAI) | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computer-aided translation (CAT) | การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอที) [มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT)] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computerize; computerise | ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
computerized numerical control (CNC) | การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CTI (computer telephone integration) | ซีทีไอ (ระบบคอมพิวเตอร์โทรศัพท์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
desktop computer | คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
digital computer | คอมพิวเตอร์เชิงเลข, ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
general-purpose computer; all-purpose computer | คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hacker; computer hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์, เซียนคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
home computer | คอมพิวเตอร์ครัวเรือน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
host computer | ๑. คอมพิวเตอร์แม่ข่าย๒. คอมพิวเตอร์แม่งาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hybrid computer | คอมพิวเตอร์ลูกผสม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mainframe computer; mainframe | เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
microcomputer | ไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
minicomputer | มินิคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Analog computer | แอนะล็อกคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่ทำงานด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันขนาดต่างๆ [คอมพิวเตอร์] |
Apple Computer, Inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวตอร์ บริษัทผู้ผลติเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียง [คอมพิวเตอร์] |
Apple II (Computer) | แอปเปิลทู (คอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Arena (Computer file) | อะรีนา (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
B (Computer program language) | บี (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
BASIC (Computer program language) | เบสิก (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Browser (Computer program) | เบราเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
COBOL (Computer program language) | โคบอล (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
COM (Computer architecture) | คอม (สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Completely Automated Public Turing Computer and Humans Apart | การทดสอบด้วยวิธีอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าการป้อนข้อมูลกระทำโดยมนุษย์หรือเครื่องจักร กลไกที่เจ้าของเว็บไซต์ใช้ป้องกันการนำเข้าข้อมูลขยะจำนวนมาก โดยผู้ซึ่งโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นทำการป้อนข้อมูลเสมือนเป็นมนุษย์ วิธีการที่มักใช้ในการทดสอบคือการให้ผู้ป้อนข้อมูลดูภาพหรือฟังเสียงอ่าน และป้อนคำตอบที่เห็นหรือได้ยิน เพื่อยืนยันความเป็นมนุษย์ CAPTCHA มักนำไปใช้ในการตรวจสอบข้อคิดเห็นต่างๆ ในเว็บบอร์ด หรือในบลอก (blog) หรือการสมัครขอใช้บริการออนไลน์ต่างๆ [Assistive Technology] |
Computer | คอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer aided design | การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย [เศรษฐศาสตร์] |
Computer aided engineering | คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม [คอมพิวเตอร์] |
Computer Aided Instruction | การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Computer aided manufactur | คอมพิวเตอร์ช่วยการผลิต [คอมพิวเตอร์] |
Computer architecture | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer crimes | อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer hackers | นักเจาะระบบคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer literacy | การรู้จักใช้คอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer network | เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Computer organization | โครงสร้างคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Computer programmers | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Computer science | คอมพิวเตอร์ศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Computer system | ระบบคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Computer viruses | ไวรัสคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
CP/M (Computer operating system) | ซีพี/เอ็ม (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] |
CU WRITER (Computer program) | ซียูไรเตอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Data structure (Computer science) | โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก [คอมพิวเตอร์] |
Director (Computer file) | ไดเรกเตอร์ (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
DOS device driver (Computer programs) | ดอส ดีไวซ์ ไดรเวอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Expert system (Computer science) | ระบบผู้เชี่ยวชาญ (คอมพิวเตอร์) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
File conversion (Computer science) | การแปลงสภาพแฟ้ม (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Finale (Computer file) | ฟีนาเล่ (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Flash (Computer file) | แฟลช (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
FoxBase (Computer program) | ฟอกซ์เบส (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Freehand (Computer file) | ฟรีแฮนด์ (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Handspring Treo (Computer) | แฮนด์สปริง ทรีโอ (คอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Home computer networks | ข่ายงานคอมพิวเตอร์ในบ้าน [TU Subject Heading] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
CAD | (abbr.) การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบสิ่งต่างๆ เช่น สิ่งก่อสร้าง (คำย่อของ computer-aided design) |
M.C.S. | (abbr.) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิต (Master of Computer Science) |
mini | (n.) คำเรียกย่อของ miniskirt และ minicomputer |
PC | (abbr.) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (คำย่อ Personal Computer) |
คอมพิวเตอร์ | (n.) computer Syn. สมองกล |
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | (n.) personal computer Syn. เครื่องพีซี |
นักคอมพิวเตอร์ | (n.) computerist |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | (n.) computer language |
มินิคอมพิวเตอร์ | (n.) minicomputer |
สมองกล | (n.) computer Syn. คอมพิวเตอร์ |
เครื่องพีซี | (n.) personal computer |
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | (n.) computer program |
โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ | (n.) computer school |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer See also: personal computer |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer See also: personal computer |
ไมโครคอมพิวเตอร์ | (n.) microcomputer |
ไวรัส | (n.) computer virus Syn. ไวรัสคอมพิวเตอร์ |
ไวรัสคอมพิวเตอร์ | (n.) computer virus |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
I don't have any computer skills | ฉันไม่มีทักษะทางคอมพิวเตอร์ |
My computer was on the blink | คอมพิวเตอร์ของฉันเสีย/ใช้การไม่ได้ |
I would really like to study computer | ฉันอยากเรียนคอมพิวเตอร์จริงๆ |
What are you doing on the computer? | คุณกำลังทำอะไรกับคอมพิวเตอร์นั่น? |
I'm gonna do some work on the computer | ฉันจะทำงานบางอย่างเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
I don't know. Our computer's shot. | ผมไม่รู้ คอมพิวเตอร์เราเสีย |
And the computer on board the Discovery the HAL-9000, can it be reactivated? | และคอมพิวเตอร์ออ นบอร์ดดิสคัเฟอรีที่ ฮาล 9000 สามารถที่จะเปิดใช้ งาน? |
You're here to help us reactivate the Discovery and its computer systems because that is United States territory. | คุณอยู่ที่นี่เพื่อช่วยให้เราเปิดใช้ งาน ดิสคัเฟอรีและระบบ คอมพิวเตอร์ เพราะเห็นว่าเป็นดินแดนของ สหรัฐอเมริกา |
There are nine years of secrets inside including a sleeping computer who knows the answers. | มีเก้าปีของความลับอยู่ภายใน รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ของ การนอนหลับ ใครจะรู้คำตอบ |
We'll see if our computer brain surgeon and psychiatrist can put Hal back together again. | เราจะดูว่าศัลยแพทย์ คอมพิวเตอร์สมองของเราและ จิตแพทย์สามารถใส่ แฮล กลับมารวมกันอีกครั้ง ที่จะบอกความจริงกับคุณ |
The technical term is an H. Mobius loop, which can happen in advanced computers with autonomous goal-seeking programs. | ระยะทางเทคนิคเป็นห่วง แอช- ระบำ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ใน คอมพิวเตอร์ขั้นสูง กับโปรแกรมเป้าหมายที่กำลัง มองหาอิสระ |
There are 58 blocks with circuits that the computer won't display. | มี 58 บล็อคกับวงจรซึ่ง คอมพิวเตอร์จะไม่แสดงผล |
Construction engineer. - Computer operator? Read that one. | บางทีก็ใส่ขีดสั้นบางทีก็ไม่ใส่ |
This is some of the most advanced computer equipment... in the world, Jobe. | พวกนี้เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย ที่พาเราเชื่อมกับโลกเสมือนได้ โจ๊บ |
They're in, and they're running a computer virus... that's placing triple key encryption codes... on all outside access and network connections. | แถมยังปล่อยไวรัส ซึ่งถูกป้องกันสามชั้นและเข้ารหัส และมันกำลังกระจายไปทั่วระบบ |
But the signals aren't going anywhere because... the night before... you cut in... and trick out the alarm system computer... to turn itself... and the video recorders off... 20 minutes before you enter. | แต่สัญญาณไม่ดังที่ไหนเพราะ... ก่อนหน้านั้นคืนนึง คุณงัดเข้าไป |
Controlled metabolisms, computer-enhanced brains cybernetic bodies. | สารควบคุมต่างๆ, สมองคอมพิวเตอร์... |
Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary | |
---|---|
应用程式 | [yìng yòng chéng shì, ˋ ㄩㄥˋ ㄔㄥˊ ㄕˋ, 应用程式 / 應用程式] application; (computer) program |
联想 | [lián xiǎng, ㄌㄧㄢˊ ㄒㄧㄤˇ, 联想 / 聯想] associate; (abbr.) Lenovo (PRC computer company) |
绑扎 | [bǎng zhá, ㄅㄤˇ ㄓㄚˊ, 绑扎 / 綁紮] binding (computer science) |
桥接 | [qiáo jiē, ㄑㄧㄠˊ ㄐㄧㄝ, 桥接 / 橋接] bridging (in computer networks) |
缓冲器 | [huǎn chōng qì, ㄏㄨㄢˇ ㄔㄨㄥ ㄑㄧˋ, 缓冲器 / 緩衝器] buffer (computer science) |
计算机辅助设计 | [jì suàn jī fǔ zhù shè jì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 计算机辅助设计 / 計算機輔助設計] CAD computer-aided design |
机箱 | [jī xiāng, ㄐㄧ ㄒㄧㄤ, 机箱 / 機箱] case (computer) (lit. machine box) |
目录 | [mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ, 目录 / 目錄] catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents |
代码 | [dài mǎ, ㄉㄞˋ ㄇㄚˇ, 代码 / 代碼] code (e.g. telephone area code); computer code (e.g. virus) |
程序设计 | [chéng xù shè jì, ㄔㄥˊ ㄒㄩˋ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 程序设计 / 程序設計] computer programming |
总线 | [zǒng xiàn, ㄗㄨㄥˇ ㄒㄧㄢˋ, 总线 / 總線] computer bus |
计算机 | [jì suàn jī, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ, 计算机 / 計算機] computer; calculator |
计算机制图 | [jì suàn jī zhì tú, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄓˋ ㄊㄨˊ, 计算机制图 / 計算機制圖] computer graphics |
计算机动画 | [jì suàn jī dòng huà, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄉㄨㄥˋ ㄏㄨㄚˋ, 计算机动画 / 計算機動畫] computer animation |
计算机工业 | [jì suàn jī gōng yè, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄍㄨㄥ ㄧㄝˋ, 计算机工业 / 計算機工業] computer industry |
计算机模式 | [jì suàn jī mó shì, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄇㄛˊ ㄕˋ, 计算机模式 / 計算機模式] computer simulation |
计算机模拟 | [jì suàn jī mó nǐ, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄇㄛˊ ㄋㄧˇ, 计算机模拟 / 計算機模擬] computer simulation |
计算机比喻 | [jì suàn jī bǐ yù, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄅㄧˇ ㄩˋ, 计算机比喻 / 計算機比喻] computer metaphor |
计算机科学 | [jì suàn jī kē xué, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ, 计算机科学 / 計算機科學] computer science |
电脑辅助工程 | [diàn nǎo fǔ zhù gōng chéng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄍㄨㄥ ㄔㄥˊ, 电脑辅助工程 / 電腦輔助工程] computer aided engineering |
计算机网络 | [jì suàn jī wǎng luò, ㄐㄧˋ ㄙㄨㄢˋ ㄐㄧ ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ, 计算机网络 / 計算機網絡] computer network |
电脑网 | [diàn nǎo wǎng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄨㄤˇ, 电脑网 / 電腦網] computer network; Internet |
电脑网路 | [diàn nǎo wǎng lù, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄨㄤˇ ㄌㄨˋ, 电脑网路 / 電腦網路] computer network |
电脑系统 | [diàn nǎo xì tǒng, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄒㄧˋ ㄊㄨㄥˇ, 电脑系统 / 電腦系統] computer system |
电脑病毒 | [diàn nǎo bìng dú, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄅㄧㄥˋ ㄉㄨˊ, 电脑病毒 / 電腦病毒] computer virus |
电脑辅助教材 | [diàn nǎo fǔ zhù jiào cái, ㄉㄧㄢˋ ㄋㄠˇ ㄈㄨˇ ㄓㄨˋ ㄐㄧㄠˋ ㄘㄞˊ, 电脑辅助教材 / 電腦輔助教材] computer-aided instruction |
映像管 | [yìng xiàng guǎn, ˋ ㄒㄧㄤˋ ㄍㄨㄢˇ, 映像管] CRT used in TV or computer monitor; picture tube; kinescope |
显像管 | [xiǎn xiàng guǎn, ㄒㄧㄢˇ ㄒㄧㄤˋ ㄍㄨㄢˇ, 显像管 / 顯像管] CRT used in TV or computer monitor; picture tube; kinescope |
防毒 | [fáng dú, ㄈㄤˊ ㄉㄨˊ, 防毒] defense against poison; defense against poison gas; anti-narcotics measures; defense against computer viruses |
确定 | [què dìng, ㄑㄩㄝˋ ㄉㄧㄥˋ, 确定 / 確定] definite; certain; fixed; to fix (on sth); to determine; to be sure; to ensure; to make certain; to ascertain; to clinch; to recognize; to confirm; OK (on computer dialog box) |
高德纳 | [Gāo Dé nà, ㄍㄠ ㄉㄜˊ ㄋㄚˋ, 高德纳 / 高德納] Donald Knuth (1938-) famous American computer scientist at Stanford University |
回车 | [huí chē, ㄏㄨㄟˊ ㄔㄜ, 回车 / 回車] enter (computer key) |
游戏设备 | [yóu xì shè bèi, ㄧㄡˊ ㄒㄧˋ ㄕㄜˋ ㄅㄟˋ, 游戏设备 / 遊戲設備] gaming device; controller (computer; console) |
侠盗猎车 | [xiá dào liè chē, ㄒㄧㄚˊ ㄉㄠˋ ㄌㄧㄝˋ ㄔㄜ, 侠盗猎车 / 俠盜獵車] Grand theft auto: Vice city (computer game) |
侠盗猎飞车 | [xiá dào liè fēi chē, ㄒㄧㄚˊ ㄉㄠˋ ㄌㄧㄝˋ ㄈㄟ ㄔㄜ, 侠盗猎飞车 / 俠盜獵飛車] Grand theft auto: Vice city (computer game) |
侠盗飞车 | [xiá dào fēi chē, ㄒㄧㄚˊ ㄉㄠˋ ㄈㄟ ㄔㄜ, 侠盗飞车 / 俠盜飛車] Grand theft auto: Vice city (computer game) |
黑客 | [hēi kè, ㄏㄟ ㄎㄜˋ, 黑客] hacker (computer); The Matrix (movie) |
侵截者 | [qīn jié zhě, ㄑㄧㄣ ㄐㄧㄝˊ ㄓㄜˇ, 侵截者] (computer) hacker |
散热器 | [sàn rè qì, ㄙㄢˋ ㄖㄜˋ ㄑㄧˋ, 散热器 / 散熱器] heatsink; heat spreader; fan (computer) (lit. scatter heat device) |
封神榜 | [fēng shén bǎng, ㄈㄥ ㄕㄣˊ ㄅㄤˇ, 封神榜] Investiture of the Gods, major Ming dynasty vernacular novel of mythology and fantasy, very loosely based on King Wu of Zhou's 周武王 overthrow of the Shang, subsequent material for opera, film, TV series, computer games etc |
Japanese-English: EDICT Dictionary | |
---|---|
@系 | [アットけい, atto kei] (n) (See ローグライク) roguelike (character display computer game) |
ABC | [エービーシー, e-bi-shi-] (n) (1) alphabet; ABCs; (2) American Broadcasting Company; ABC; (3) Audit Bureau of Circulations; ABC; (4) activity-based costing; ABC; (5) ABC World Airways Guide; (6) Atanasoff-Berry Computer; ABC |
CAD | [キャド, kyado] (n) {comp} computer-aided design; CAD |
CAI | [シーエーアイ, shi-e-ai] (n) {comp} computer-assisted instruction; CAI; computer-aided instruction |
CAM | [キャム, kyamu] (n) {comp} computer-aided manufacturing; CAM |
CG | [シージー, shi-ji-] (n) {comp} computer graphics; CG |
CGI | [シージーアイ, shi-ji-ai] (n) (1) {comp} common gateway interface; CGI; (2) computer generated imagery; CGI |
CISC | [シスク, shisuku] (n) {comp} complex instruction set computer; CISC |
COSMETS | [コスメッツ, kosumettsu] (n) {comp} Computer System for Meteorological Services; COSMETS |
CT | [シーティー, shi-tei-] (n) {comp} CT (computerized tomography) |
CTS | [シーティーエス, shi-tei-esu] (n) (1) {comp} computerized typesetting system (computerised); CTS; (2) cold type system; CTS |
PC | [ピーシー, pi-shi-] (n) {comp} PC; personal computer |
RISC | [リスク, risuku] (n) {comp} reduced instruction set computer; RISC |
アップル | [, appuru] (n) (1) apple; (2) {comp} Apple (computer company) |
アナコン | [, anakon] (n) (abbr) {comp} analog computer |
アナログコンピュータ | [, anarogukonpyu-ta] (n) {comp} analog computer |
アナログコンピューター | [, anarogukonpyu-ta-] (n) {comp} analog computer |
アナログ計算機 | [アナログけいさんき, anarogu keisanki] (n) {comp} analog computer |
アプリ | [, apuri] (n) (abbr) {comp} (computer) application; (P) |
アルファギーク;アルファ・ギーク | [, arufagi-ku ; arufa . gi-ku] (n) {comp} alpha geek (var. of computer nerd) |
アレイコンピュータ | [, areikonpyu-ta] (n) {comp} array computer |
イメージ(P);イメジ | [, ime-ji (P); imeji] (n,vs) (1) (See イメージアップ) (one's) image; (2) {comp} (computer) image; (3) mental image; impression; artist's impression; (P) |
ウイルスを排除する | [ウイルスをはいじょする, uirusu wohaijosuru] (exp,vs-i) (1) to fight off a virus; (2) {comp} to screen out computer viruses |
ウェアラブルパソコン | [, uearaburupasokon] (n) {comp} wearable personal computer |
エロ画 | [エロが, ero ga] (n) (abbr) (sl) (See エロ画像) erotic photograph (on a computer, mobile phone, etc.) |
エンカウント | [, enkaunto] (n) (1) (abbr) (sl) (See エンカウンター) an encounter (usu. in computer games) (wasei |
オープンコンピュータネットワーク | [, o-punkonpyu-tanettowa-ku] (n) {comp} Open Computer Network; OCN |
オールインワンPC | [オールインワンピーシー, o-ruinwanpi-shi-] (n) {comp} all-in-one Personal Computer |
オールインワンパソコン | [, o-ruinwanpasokon] (n) {comp} all-in-one personal computer |
オンラインコンピューター;オンラインコンピュータ | [, onrainkonpyu-ta-; onrainkonpyu-ta] (n) {comp} online computer |
オンラインコンピュータシステム | [, onrainkonpyu-tashisutemu] (n) {comp} online computer system |
オンライン科学コンピュータ | [オンラインかがくコンピュータ, onrain kagaku konpyu-ta] (n) {comp} online scientific computer |
キャプチャー;キャプチャ | [, kyapucha-; kyapucha] (n,vs) (1) capture; (n) (2) (キャプチャ only) (abbr) CAPTCHA; Completely Automated Public Turing test to tell Computers and Humans Apart |
ギャルゲ;ギャルゲー | [, gyaruge ; gyaruge-] (n) (abbr) {comp} computer game for men featuring beautiful women characters (usu. adult game) (wasei |
グヌー;グニュー | [, gunu-; gunyu-] (n) {comp} (also ニュー) GNU (computer OS, project, etc.) |
グリーンPC | [グリーンピーシー, guri-npi-shi-] (n) {comp} environmentally friendly computer (e.g. low power consumption) (wasei |
クリップボードコンピュータ | [, kurippubo-dokonpyu-ta] (n) {comp} clipboard computer |
ケース(P);ケイス(P) | [, ke-su (P); keisu (P)] (n) (1) case (e.g. receptacle, condition, event, legal action, letter style, etc.); (2) {comp} Computer-Aided Software Engineering; CASE; (P) |
ケルベロス | [, keruberosu] (n) {comp} Kerberos (computer security protocol) |
コマンド | [, komando] (n) (1) {comp} (computer) command; (2) commando; (P) |
Japanese-English: COMDICT Dictionary | |
---|---|
アナコン | [あなこん, anakon] analog computer (abbr) |
アナログコンピューター | [あなろぐこんぴゅーたー, anarogukonpyu-ta-] analog computer |
アナログ計算機 | [アナログけいさんき, anarogu keisanki] analog computer |
アレイコンピュータ | [あれいこんぴゅーた, areikonpyu-ta] array computer |
ウィンドウ | [ういんどう, uindou] window (e.g in computer graphics) |
オフィスコンピューター | [おふぃすこんぴゅーたー, ofisukonpyu-ta-] office computer |
オフコン | [おふこん, ofukon] office computer (abbr) |
キャド | [きゃど, kyado] computer-aided design (CAD) |
キャム | [きゃむ, kyamu] Computer-Aided Manufacturing, CAM |
グリーンPC | [グリーンピーシー, guri-npi-shi-] environmentally friendly computer (e.g. low power consumption) |
ケース | [けーす, ke-su] Computer-Aided Software Engineering, CASE |
ゲストコンピュータ | [げすとこんぴゅーた, gesutokonpyu-ta] guest computer |
コム | [こむ, komu] COM, computer output microfilm system |
コンピューターアニメ | [こんぴゅーたーあにめ, konpyu-ta-anime] computer animation (abbr) |
コンピューターアニメーション | [こんぴゅーたーあにめーしょん, konpyu-ta-anime-shon] computer animation |
コンピューターアレルギー | [こんぴゅーたーあれるぎー, konpyu-ta-arerugi-] computer allergy |
コンピューターグラフィックス | [こんぴゅーたーぐらふぃっくす, konpyu-ta-gurafikkusu] computer graphics |
コンピュータージオグラフィックス | [こんぴゅーたーじおぐらふぃっくす, konpyu-ta-jiogurafikkusu] computer geographics |
コンピュータートモグラフィー | [こんぴゅーたーともぐらふぃー, konpyu-ta-tomogurafi-] computer tomography |
コンピュータービジョン | [こんぴゅーたーびじょん, konpyu-ta-bijon] computer-vision |
コンピューターマインド | [こんぴゅーたーまいんど, konpyu-ta-maindo] computer mind |
コンピューターユーティリティー | [こんぴゅーたーゆーていりていー, konpyu-ta-yu-teiritei-] computer utility |
コンピューター化 | [コンピューターか, konpyu-ta-ka] computerization |
コンピューター援用生産 | [コンピューターえんようせいさん, konpyu-ta-enyouseisan] computer-aided manufacture, CAM |
コンピューター援用設計 | [コンピューターえんようせっけい, konpyu-ta-enyousekkei] computer-aided design, CAD |
コンピュータウィルス | [こんぴゅーたういるす, konpyu-tauirusu] computer virus |
コンピュータグラフィクスインタフェース | [こんぴゅーたぐらふぃくすいんたふぇーす, konpyu-tagurafikusuintafe-su] Computer Graphics Interface |
コンピュータグラフィクスのメタファイル | [こんぴゅーたぐらふぃくす の めたふぁいる, konpyu-tagurafikusu no metafairu] Computer Graphics Metafile |
コンピュータグラフィックス | [こんぴゅーたぐらふぃっくす, konpyu-tagurafikkusu] computer graphics |
コンピュータゲーム | [こんぴゅーたげーむ, konpyu-tage-mu] computer game |
コンピュータサイエンス | [こんぴゅーたさいえんす, konpyu-tasaiensu] computer-science |
コンピュータソフトウェア | [こんぴゅーたそふとうえあ, konpyu-tasofutouea] computer-software |
コンピュータビジョン | [こんぴゅーたびじょん, konpyu-tabijon] computer-vision |
コンピュータプログラマー | [こんぴゅーたぷろぐらまー, konpyu-tapurogurama-] computer programmer |
コンピュータマイクログラフィックス | [こんぴゅーたまいくろぐらふぃっくす, konpyu-tamaikurogurafikkusu] computer micrographics |
コンピュータミュージック | [こんぴゅーたみゅーじっく, konpyu-tamyu-jikku] computer-music |
コンピュータリゼーション | [こんぴゅーたりぜーしょん, konpyu-tarize-shon] computerization |
コンピュータ依存言語 | [コンピュータいぞんげんご, konpyu-ta izongengo] computer-dependent language |
コンピュータ化 | [こんぴゅうたか, konpyuutaka] computerization |
コンピュータ用語 | [コンピュータようご, konpyu-ta yougo] computerese |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
コンピュータ | [こんぴゅーた, konpyu-ta] Thai: คอมพิวเตอร์ English: computer |
パソコン | [ぱそこん, pasokon] Thai: เครื่องคอมพิวเตอร์ English: personal computer |
Thai-English-French: Volubilis Dictionary 20.1 | |
---|---|
เด็กติดเกม | [n. exp.] (dek tit kēm) EN: child addicted to computer games FR: |
ด้วยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (dūay khømph) EN: by using computer ; computer based FR: par ordinateur |
เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (jaophanakng) EN: computer operator FR: |
จอคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (jø khǿmphiu) EN: computer screen FR: écran d'ordinateur [m] |
การจำลองแบบโดยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān jamløng) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [f] |
การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān jamløng) EN: computer simulation FR: simulation par ordinateur [f] |
การแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān kaē pan) EN: computer problem solving FR: |
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān khīen p) EN: computer programming language FR: |
การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kān kratham) EN: breach of computer legislation FR: |
เกมคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (kēm khømphi) EN: computer game FR: jeu informatique [m] |
คณิตกรณ์ | [n.] (khanitkøn) EN: computer FR: calculateur [m] |
คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khanittasāt) EN: mathematics for computer FR: |
คลิกเมาส์ | [v. exp.] (khlik mao) EN: click (a computer mouse) FR: cliquer (la souris) |
คอมพ์ ; คอมฯ | [n. (abv)] (khøm = khǿm) EN: computer FR: ordinateur [m] ; ordi [m] (abrév., fam.) ; PC = P.C. [m] (abrév.) |
คอมพิวเตอร์ = ค็อมพิ้วเต้อร์ | [n.] (khǿmphiutoē) EN: computer FR: ordinateur [m] |
คอมพิวเตอร์ศึกษา | [n. exp.] (khǿmphiutoē) EN: computer education FR: enseignement informatique [m] |
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [n. exp.] (khǿmphiutoē) EN: personal computer FR: ordinateur individuel [m] ; ordinateur personnel [m] |
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khreūakhāi ) EN: computer network FR: réseau informatique [m] |
เครื่องคำนวณ | [n. exp.] (khreūang kh) EN: computer FR: ordinateur [m] |
เครื่องคอมพิวเตอร์ | [n.] (khreūang kh) EN: computer FR: ordinateur [m] |
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล | [n. exp.] (khreūang kh) EN: personal computer ; PC FR: ordinateur individuel [m] ; PC [m] |
เครื่องพิมพ์ | [n.] (khreūangphi) EN: printer ; computer printer FR: imprimante [f] |
ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khrū søn wi) EN: computer teacher FR: professeur d'informatique [m] |
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ | [adj.] (khūapkhum d) EN: computer-controlled FR: contrôlé par ordinateur |
ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (khwāmrū dān) EN: computer knowledge FR: connaissances en informatique [fpl] |
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (laepthop kh) EN: laptop computer FR: ordinateur portable [m] ; laptop [m] (anglic.) |
เล่นเกมคอมพิวเตอร์ | [v. exp.] (len kēm khø) EN: play computer games FR: jouer à des jeux vidéo |
เล่นคอม | [v. exp.] (len khøm) EN: work with computer FR: travailler sur ordinateur |
เล่นคอมพิวเตอร์ | [v. exp.] (len khømphi) EN: work with computer FR: travailler sur ordinateur |
เมาส์ | [n.] (mao) EN: computer mouse ; mouse FR: souris d'ordinateur [f] ; souris [f] |
เมาส์คอมพิวเตอร์ | [n.] (mao khømphi) EN: computer mouse FR: souris d'ordinateur [f] |
เนคเทค | [org.] (Nēkthēk) EN: NECTEC (National Electronics and Computer Technology Center) FR: NECTEC [m] |
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (ongprakøp k) EN: computer components FR: composants d'un ordinateur [mpl] |
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (phākwichā w) EN: department of computer engineering FR: département d'ingénierie informatique [m] |
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (phākwichā w) EN: department of computer science FR: |
ภาษาคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (phāsā khømp) EN: computer language FR: langage informatique [m] ; langage de programmation [m] |
พีซี | [n.] (phīsī) EN: PC ; personal computer FR: PC [m] ; ordinateur individuel [m] |
ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ | [n. exp.] (phūphalit k) EN: computer maker FR: fabricant d'ordinateurs [m] |
ปิดคอมพิวเตอร์ ; ปิดคอมพ์ | [v. exp.] (pit khømphi) EN: shut down a computer ; power off a computer FR: fermer un ordinateur |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | [n.] (prōkraēmkhø) EN: computer program FR: programme informatique [m] ; application informatique [f] |
German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary | |
---|---|
Bordcomputer | {m} (Schiff)seaborne computer |
Abrechnungscomputer | {m}accounting computer |
Akkumulatorrechner | {m}accumulator computer |
Airbag-Steuergerät | {n} [auto]airbag computer |
Bordcomputer | {m} in Raum- oder Luftfahrzeugenairborne computer |
Cyberphobie | {f}; Angst vor Computerncyberphobia |
BIOS | {n}; Startprogramm für Computer [comp.]BIOS |
BIOS | {n}, Ein-/Ausgabe-System (Computer)BIOS : basic input/output system |
Bürocomputer | {m}business computer |
Gebührencomputer | {m}call charge computer |
Hauptrechner | {m} [comp.]central computer |
CNC : Computergestützte numerische Steuerung | {f}CNC : computer(ized) numerical control |
Computerbetrug | {m}; Computerkriminalität |
Computerfreak | {m}computer freak; computer nerd |
Desktop-Publishing | {n}; computergestütztes PublizierenDTP : Desktop Publishing |
Dialogrechner | {m}interactive computer |
Digitalrechner | {m}digital computer |
Doppelrechner | {m} (zur Sicherung) [comp.]duplex computer |
Lerncomputer | {m}educational computer |
Handheld-Computer | {m}; Computer im Taschenformat [comp.]hand-held computer |
Taschencomputer | {m}; Palmtop-Computer |
Hardware | {f} [comp.]; Computer-Teile |
Wirtsrechner | {m} [comp.]host computer; host processor |
Hybridrechner | {m}analog-digital computer |
Hybridrechner | {m}combined computer; hybrid computer |
Informatik | {f} | angewandte Informatikcomputer science; informatics; information science | applied computer science |
Unterweisung | {f} | computerunterstützte Unterweisunginstruction | computer-aided instruction (CAI) |
Laptop | {m} [comp.]laptop (computer) |
Maschinenbefehl | {m} [comp.]machine code instruction; computer instruction |
Mikrocomputer | {m}; Microcomputer |
Mikrocomputersystem | {n}; Microcomputersystem |
Mikrocomputertechnik | {f}; Microcomputertechnik |
Mehradressrechner | {m}multi address computer |
Mehrbenutzerrechner | {m}multi user computer |
Navigationsrechner | {m}navigation computer |
Ablaufrechner | {f}object computer |
Bürocomputer | {m}office computer |
Online-Zugang | {m}online computer access |
Parallelrechner | {m}simultaneous computer |
PC : Personalcomputer | {m}PC : personal computer |