English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
data | (n.) ข้อมูล See also: ตัวเลข, สถิติ Syn. information, facts |
data bank | (n.) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ |
data file | (n.) แฟ้มข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) See also: ไฟล์ข้อมูล |
data processing | (n.) การประมวลผลข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) See also: การใช้คอมพิวเตอร์จัดการข้อมูล |
database | (n.) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ Syn. data bank |
database management system | (n.) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
data | (เด'ทะ,ดา'ทะ) n. พหูพจน์ของ datum |
data acquisition | การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ |
data bank | คลังข้อมูลหมายถึง ที่หรือแหล่งเก็บข้อมูล หรือแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะอยู่กับหน่วยงานคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยคอมพิวเตอร์ของกระทรวงเกษตร อาจเป็นคลังข้อมูลในเรื่องของ ผลผลิต เนื้อที่การเกษตร รายละเอียดเกี่ยวกับกสิกร สัตว์ที่ใช้ในการเกษตร สินค้าเกษตร ฯลฯ เป็นต้น |
data base | ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database |
data base management syst | ระบบจัดการฐานข้อมูลใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่า ดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย |
data card | บัตรข้อมูลหมายถึงบัตรคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เจาะเป็นรหัสแสดงถึงตัวอักขระต่าง ๆ อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ เพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ บัตรข้อมูลนั้น เราสามารถใช้ได้ทั้ง 80 คอลัมน์ของบัตร (แต่บัตรที่เป็นบัตรชุดคำสั่ง ที่เรียกว่า program card นั้น ใช้ได้เฉพาะคอลัมน์ 7 ถึง 70) เมื่อส่งเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ บัตรข้อมูลจะต้องส่งตามหลังบัตรชุดคำสั่งเสมอดู card code ประกอบ |
data encryption standards | มาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล |
data entry | การบันทึกข้อมูลหมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าไปเก็บในสื่อ (medium) อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) ฯลฯ โดยผ่านทางแผงแป้นอักขระ (keyboard) หรืออาจหมายถึงการส่งข้อมูลเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งก็ได้ |
data field | เขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record) |
data packet | กลุ่มข้อมูลกลุ่มหมายถึง ข้อมูลจำนวนหนึ่งหรือหน่วยหนึ่งที่มีความสัมพันธ์เป็นเรื่องราวเดียวกัน ใช้ในเรื่องของการสื่อสารข้อมูล (data communication) เช่น packet switching บางทีใช้ packet เฉย ๆ ก็ได้ |
data redundancy | ความซ้ำซ้อนข้อมูลหมายถึงข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน หากตัดออก ก็จะไม่ทำให้ข้อมูลที่เหลืออยู่เสียหาย ถ้าใช้กับตัวเครื่อง (hardware) หมายถึง เครื่องที่มีระบบการทำงานซ้ำซ้อนกัน ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีหรือใช้ ถ้าต้องการให้มีความเชื่อถือได้สูง |
data retrieval | การค้นคืนข้อมูลหมายถึง กระบวนการในการเรียกหา หรือนำข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลหรือสื่อเก็บข้อมูล กลับมาแสดงบนจอภาพหรือเครื่องปลายทาง (terminal) |
data file | แฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล" |
data fork | ส่วนข้อมูลแฟ้มข้อมูลที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุก ๆ แฟ้มจะประกอบด้วยสองส่วน ส่วนที่หนึ่งนั้น เรียกว่า ส่วนข้อมูล (data fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อมูลจริง ๆ ที่โปรแกรมนั้น ๆ จะต้องใช้ ส่วนที่สองเรียกว่า ส่วนทรัพยากร (resource fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกว่าโปรแกรม ซึ่งจะเป็นตัวทำงานให้ หรือไม่ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีไว้ เพื่อให้ใช้โปรแกรมนั้น ๆ ได้ครบถ้วน เช่น การกำหนดแบบอักษร (font) สัญรูป (icon) รายการเลือก (menu) เป็นต้น |
data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
data record | ระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ |
data set | ชุดข้อมูลหมายถึง การนำข้อมูลมาจัดเป็นชุด ให้ถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล พอเพียงที่จะนำไปใช้ประมวลผลได้ บางทีใช้มีความหมายเหมือนแฟ้มข้อมูล (file) |
data structure | โครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น |
data terminal ready | ปลายทางพร้อมใช้ตัวย่อว่า DTR (อ่านว่า ดีทีอาร์) หมายถึงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บอกให้รู้ว่า โมเด็ม (modem) พร้อม และสถานีปลายทางก็พร้อมที่จะรับข้อมูลเข้ามาได้แล้ว |
data transfer | การถ่ายโอนข้อมูลหมายถึง การเคลื่อนย้ายข้อมูลจากที่เก็บในตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง หรืออาจหมายถึงการย้ายที่เก็บจากสื่อเก็บหนึ่งไปอีกสื่อหนึ่งก็ได้ หรือบางทีอาจหมายถึง การย้ายข้อมูลจากโปรแกรมหลัก (master program) ไปทำงานยังโปรแกรมย่อย (subprogram) |
data type | ลักษณะข้อมูลหมายถึง การกำหนดข้อมูลที่จะใช้ให้มีลักษณะเป็นตัวเลข ตัวอักษร เลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยม เพื่อความสะดวกในการประมวลผล |
database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี |
database management syste | ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย |
datary | (เด'ทะรี) n. สำนักงานตรวจสอบผู้สมัครเข้าทำงานในราชสำนักวาติกัน |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
data | (n) ข้อมูล,ตัวเลข,สถิติ,สิ่งที่รู้ |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
data | ข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data acquisition | การได้ข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data bank | คลังข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data base management system | ระบบจัดการฐานข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
data encryption standard (DES) | มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล (ดีอีเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data entry | การบันทึกข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data packet; packet | กลุ่ม, กลุ่มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data processing | การประมวลผลข้อมูล, การจัดกระบวนข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
data set | ๑. ชุดข้อมูล๒. อุปกรณ์รับส่งข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data structure | โครงสร้างข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data transfer | การถ่ายโอนข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data type | แบบชนิดข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
database | ฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
database management system (DBMS) | ระบบจัดการฐานข้อมูล (ดีบีเอ็มเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Data | ข้อมูล [เศรษฐศาสตร์] |
Data Bank | แหล่งต่างๆที่เป็นที่รวบรวมข้อมูล [การแพทย์] |
Data Base | รายละเอียดขั้นพื้นฐาน [การแพทย์] |
Data entry | บันทึกข้อมูลกระบวนการนำข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกหรือในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้แป้นพิมพ์บันทึกข้อมูลเก็บ [คอมพิวเตอร์] |
Data processing | การประมวลผลข้อมูลกรรมวิธีในการเก็บข้อมูลจากที่เกิด นำข้อมูลมาบันทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ นำข้อมูลที่เก็บไว้มาจัดทำเป็นรายงานเสนอผู้ใช้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์บันทึกประวัติของนักเรียน ตรวจข้อสอบ ให้คะแนนสอบ แล้วบันทึกคะแนนสอบลงในประวัติของนักเรียน สุดท้ายจึงใช้คอมพิวเตอร์คิดระดับคะแนน และจัดทำรายงานคะแนนสอบ การประมวลผลข้อมูลเป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบพื้นฐานที่มีประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานและบริษัทต่างๆ นอกจากงานข้างต้นแล้ว ก็ยังมีตัวอย่างอื่นอีกมาก เช่น โรงแรมใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลทำบัญชีคิดเงินลูกค้า ห้างสรรพสินค้าใช้คอมพิวเตอร์อ่านฉลากสินค้าแล้วคิดเงิน ต่อจากนั้นก็บันทึกเก็บข้อมูลการขายไว้จัดทำบัญชีต่อไป ฯลฯ [คอมพิวเตอร์] |
Data structure (Computer science) | โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก [คอมพิวเตอร์] |
Database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Database Management System | ระบบจัดการฐานข้อมูลซอฟต์แวร์สำหรับทำหน้าที่บันทึกข้อมูลไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ค้นคืน จัดทำรายงาน ประมวลผล และดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล ปัจจุบันนี้มีระบบ DBMS ให้เลือกซื้อมาใช้หลายระบบด้วยกัน อาทิ Oracle, Ingres, Progress, Informix ซึ่งเป็นระบบที่มีใช้ทั้งในเครื่องขนาดใหญ่และขนาดเล็ก Access, Foxpro และ dBASE เป็นระบบที่มีใช้ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ประมวลผลข้อมูล | (v.) process data (information) See also: evaluate data (information) |
ข้อมูล | (n.) data See also: information |
เครื่องบันทึกข้อมูล | (n.) data entry equipment |
เครื่องเก็บบันทึกข้อมูล | (n.) data entry equipment Syn. เครื่องบันทึกข้อมูล |
การประมวลผล | (n.) data processing |
แหล่งข้อมูล | (n.) data source |
ฐานข้อมูล | (n.) database |
ข้อมูลดิบ | (n.) raw data |
ข้อมูลร่วม | (n.) common data See also: general data, ordinary message |
ข้อมูลออก | (n.) output data Ops. ข้อมูลเข้า |
ข้อมูลเข้า | (n.) input data Ops. ข้อมูลออก |
จอแสดงผล | (n.) screen for viewdata See also: monitor for viewdata |
ฐานข้อมูลร่วม | (n.) integral database |
ธรรมธาตุ | (n.) mental-data element See also: having the element of the Law or of existence, appellation for the Buddha whose essence is Law Syn. ธรรมารมณ์, ธรรมธาตุ |
ธรรมารมณ์ | (n.) mental-data element See also: having the element of the Law or of existence, appellation for the Buddha whose essence is Law Syn. ธรรมธาตุ |
สำรองข้อมูล | (v.) store data |
เก็บข้อมูล | (v.) collect / gather data See also: call / gather information |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
What data do you require? | คุณต้องการข้อมูลอะไรหรือ? |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
State County Municipal Offender Data System. | จังหวัด เขตปกครอง เทศบาล ผู้กระทำความผิดในระบบข้อมูล |
Dr. OrIov has encountered some strange data coming from Europa. | ดร. ล็อฟได้พบบางอย่าง ข้อมูลแปลก ๆ มาจากยูโรป้า |
Our data confirms yours: | ข้อมูลของเรายืนยันของคุณ: |
Dr. Curnow asked ground to furnish him with data as to the stress points on Discovery. | ดร. นาวถามพื้นดินให้แก่เขา ด้วย ข้อมูลเป็นจุดความเครียด ในดิสคัเฟอรี |
Well, if we use the latest examination equipment to collect even more data and do a multifaceted analysis, then surely... | ได้ ถ้าเราใช้ตัวอย่างครั้งสุดท้าย มาประกอบกับข้อมูลที่เราได้ ...และ ทดลองวิเคราะห์หลายทาง เพื่อความแน่นอน |
We have all sorts of data that substantiate her abilities. | เรามีประเภทของข้อมูลทั้งหมด นั่นจะทำให้รู้ถึงความสามารถของเธอ. |
Detailed data on the new subject. | รายละเอียดข้อมูลอยู่ในเป้าหมายใหม่ |
The scientists back then were unable to solve the mystery, so they decided to entrust their collected data and test samples to future generations by preserving them in a frozen capsule. | นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมา ก็ไม่สามารถไขความลึกลับนี้ได้ ดังนั้นพวกเขาจึงตัดสินใจมอบ กลุ่มข้อมูลและตัวอย่างการทดสอบ... ...ไปไว้ที่คนรุ่นใหม่ในอนาคต โดยเก็บตัวอย่างนั้นไว้ในหลอดทดลอง |
And he came from Data Processing. | เป็นพื้นที่ ๆแสนวิเศษมาก |
Let's face it, Paul, the guy comes from Data Processing. | คุณตัดสินใจหรือยังว่า จะทํายังไงกับสายงานของแดนเบอรี่ ยัง ผมยังไม่ได้คิด |
So, I'll get all the data over to the guys at Lyndon. | ฉันจะเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีให้กับคนของลินดอนละนะ |
Twenty-three minutes ago, her brain was hacked into through a data line. | เมื่อ 23นาทีก่อน, สมองของเธอถูกเจาะระบบ เพื่อเข้าไปในส่วนข้อมูลหลัก |
Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary | |
---|---|
彭博通讯社 | [Péng bó tōng xùn shè, ㄆㄥˊ ㄅㄛˊ ㄊㄨㄥ ㄒㄩㄣˋ ㄕㄜˋ, 彭博通讯社 / 彭博通訊社] Bloomberg L.P., financial software services, news and data company |
数据介面 | [shù jù jiè miàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ, 数据介面 / 數據介面] data interface |
数据传输 | [shù jù chuán shū, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄔㄨㄢˊ ㄕㄨ, 数据传输 / 數據傳輸] data transmission |
数据压缩 | [shù jù yā suō, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄧㄚ ㄙㄨㄛ, 数据压缩 / 數據壓縮] data compression |
数据接口 | [shù jù jiē kǒu, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝ ㄎㄡˇ, 数据接口 / 數據接口] data interface |
数据段 | [shù jù duàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄉㄨㄢˋ, 数据段 / 數據段] data segment |
数据网络 | [shù jù wǎng luò, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄨㄤˇ ㄌㄨㄛˋ, 数据网络 / 數據網絡] data network |
解压 | [jiě yā, ㄐㄧㄝˇ ㄧㄚ, 解压 / 解壓] decompression (in digital technology); to extract data from compressed file |
差错 | [chā cuò, ㄔㄚ ㄘㄨㄛˋ, 差错 / 差錯] error (in data transmission); mistake; slip-up; fault; error in data transmission; accident; mishap |
光纤分布式数据介面 | [guāng xiān fēn bù shì shù jù jiè miàn, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢ ㄈㄣ ㄅㄨˋ ㄕˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ, 光纤分布式数据介面 / 光纖分佈式數據介面] Fiber Distributed Data Interface; FDDI |
光纤分散式资料介面 | [guāng xiān fēn sàn shì zī liào jiè miàn, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢ ㄈㄣ ㄙㄢˋ ㄕˋ ㄗ ㄌㄧㄠˋ ㄐㄧㄝˋ ㄇㄧㄢˋ, 光纤分散式资料介面 / 光纖分散式資料介面] fiber distributed data interface; FDDI |
脊索动物 | [jǐ suǒ dòng wù, ㄐㄧˇ ㄙㄨㄛˇ ㄉㄨㄥˋ ˋ, 脊索动物 / 脊索動物] chordata |
脊索动物门 | [jǐ suǒ dòng wù mén, ㄐㄧˇ ㄙㄨㄛˇ ㄉㄨㄥˋ ˋ ㄇㄣˊ, 脊索动物门 / 脊索動物門] Chordata, phylum containing vertebrates |
消费资料 | [xiāo fèi zī liào, ㄒㄧㄠ ㄈㄟˋ ㄗ ㄌㄧㄠˋ, 消费资料 / 消費資料] consumption data |
紫杉 | [zǐ shān, ㄗˇ ㄕㄢ, 紫杉] Taxus cuspidata |
数据 | [shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 数据 / 數据] data; numbers; digital; also written 數據|数据 |
数据 | [shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 数据 / 數據] data; numbers; digital |
数据库 | [shù jù kù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ, 数据库 / 數據庫] database |
数据库软件 | [shù jù kù ruǎn jiàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ ㄖㄨㄢˇ ㄐㄧㄢˋ, 数据库软件 / 數據庫軟件] database software |
资料库 | [zī liào kù, ㄗ ㄌㄧㄠˋ ㄎㄨˋ, 资料库 / 資料庫] database |
文摘 | [wén zhāi, ㄨㄣˊ ㄓㄞ, 文摘] digest (of literature); to make a digest (of data); summary |
电子数据交换 | [diàn zǐ shù jù jiāo huàn, ㄉㄧㄢˋ ㄗˇ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄐㄧㄠ ㄏㄨㄢˋ, 电子数据交换 / 電子數據交換] electronic exchange of data |
误读 | [wù dú, ˋ ㄉㄨˊ, 误读 / 誤讀] erroneous reading (of character); mistaken interpretation (of data) |
史料 | [shǐ liào, ㄕˇ ㄌㄧㄠˋ, 史料] historical material or data |
载入 | [zǎi rù, ㄗㄞˇ ㄖㄨˋ, 载入 / 載入] to load into; to record; to write into; to enter (data); to go into (the records); to go down (in history) |
材料 | [cái liào, ㄘㄞˊ ㄌㄧㄠˋ, 材料] material; data; makings; stuff |
基准 | [jī zhǔn, ㄐㄧ ㄓㄨㄣˇ, 基准 / 基準] norm; standard; standard of reference; base; base point; base line; benchmark; reference point; reference frame; criterion; data |
资料量 | [zī liào liàng, ㄗ ㄌㄧㄠˋ ㄌㄧㄤˋ, 资料量 / 資料量] quantity of data |
搜索 | [sōu suǒ, ㄙㄡ ㄙㄨㄛˇ, 搜索] to search; to look for sth; to scour (search meticulously); to look sth up; internet search; database search |
蒐 | [sōu, ㄙㄡ, 蒐] search out (as data) |
堆栈 | [duī zhàn, ㄉㄨㄟ ㄓㄢˋ, 堆栈 / 堆棧] stack (data structure) |
统计数据 | [tǒng jì shù jù, ㄊㄨㄥˇ ㄐㄧˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 统计数据 / 統計數據] statistical data |
汇总 | [huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ, 汇总 / 匯總] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report |
汇总 | [huì zǒng, ㄏㄨㄟˋ ㄗㄨㄥˇ, 汇总 / 彙總] summary; to summarize; to collect (data, receipts etc); to gather and report; also written 匯總|汇总 |
用户数据 | [yòng hù shù jù, ㄩㄥˋ ㄏㄨˋ ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ, 用户数据 / 用戶數據] user data |
Japanese-English: EDICT Dictionary | |
---|---|
ADESS | [アデス, adesu] (n) Automated Data Editing and Switching System; ADESS |
アーカイブデータセット | [, a-kaibude-tasetto] (n) {comp} archive data set |
アイオーデータ | [, aio-de-ta] (n) {comp} I-O DATA |
アナログデータ | [, anarogude-ta] (n) {comp} analog data |
アプリケーションデータ | [, apurike-shonde-ta] (n) {comp} application data |
アメダス | [, amedasu] (n) Automated Meteorological Data Acquisition System; AMeDAS; (P) |
アルファデータ | [, arufade-ta] (n) {comp} Alpha Data |
イメージデータ | [, ime-jide-ta] (n) {comp} image data |
インターネットデータセンター | [, inta-nettode-tasenta-] (n) {comp} Internet Data Center |
オンラインデータ入力 | [オンラインデータにゅうりょく, onrainde-ta nyuuryoku] (n) {comp} online data entry |
オンラインデータ処理 | [オンラインデータしょり, onrainde-ta shori] (n) {comp} on-line data processing |
オンラインデータ収集システム | [オンラインデータしゅうしゅうシステム, onrainde-ta shuushuu shisutemu] (n) {comp} online data gathering system |
キー順データセット | [キーじゅんデータセット, ki-jun de-tasetto] (n) {comp} KSDS; Key-Sequenced Data Set |
コード独立形データ通信 | [コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] (n) {comp} code-independent data communication |
コード透過形データ通信 | [コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] (n) {comp} code-transparent data communication |
セクタのデータ領域 | [セクタのデータりょういき, sekuta no de-ta ryouiki] (n) {comp} data field of a sector |
ダイナミックデータエクスチェンジ | [, dainamikkude-taekusuchienji] (n) {comp} dynamic data exchange; DDE |
ダビング | [, dabingu] (n,vs) (1) (See 吹き替え) dubbing; adding a new audio (usu. voice) track to an existing video, film, etc.; (2) dubbing; re-recording existing video or audio data to a new DVD, tape, etc.; (P) |
データインスタンス | [, de-tainsutansu] (n) {comp} data instance |
データインテンシブ | [, de-taintenshibu] (n) {comp} data intensive |
データインベントリ | [, de-tainbentori] (n) {comp} data inventory |
データウェアハウス | [, de-taueahausu] (n) {comp} data warehouse; data warehousing |
データエントリ | [, de-taentori] (n) {comp} data entry |
データセンター | [, de-tasenta-] (n) {comp} data center |
データタイプ | [, de-tataipu] (n) {comp} data type |
データタイプ理論 | [データタイプりろん, de-tataipu riron] (n) data type theory |
データチャネル装置 | [データチャネルそうち, de-tachaneru souchi] (n) {comp} data channel equipment |
データの保全性 | [データのほぜんせい, de-ta nohozensei] (n) {comp} data integrity |
データの先頭 | [データのせんとう, de-ta nosentou] (n) {comp} beginning of data |
データの基底アドレス | [データのきていアドレス, de-ta nokitei adoresu] (n) {comp} base address of data |
データの完全性 | [データのかんぜんせい, de-ta nokanzensei] (n) {comp} data integrity |
データの汚染 | [データのおせん, de-ta noosen] (n) {comp} data corruption; data contamination |
データの階層;データ階層 | [データのかいそう(データの階層);データかいそう(データ階層), de-ta nokaisou ( de-ta no kaisou ); de-ta kaisou ( de-ta kaisou )] (n) {comp} data hierarchy |
データパケット | [, de-tapaketto] (n) {comp} data packet |
データバンク | [, de-tabanku] (n) {comp} data bank; (P) |
データフィールド | [, de-tafi-rudo] (n) {comp} data field |
データフォーク | [, de-tafo-ku] (n) {comp} data fork |
データプロセシング | [, de-tapuroseshingu] (n) {comp} data processing |
データベース管理システム | [データベースかんりシステム, de-tabe-su kanri shisutemu] (n) {comp} Data Base Management System; DBMS |
データベース管理者 | [データベースかんりしゃ, de-tabe-su kanrisha] (n) {comp} Data Base Administrator; DBA |
Japanese-English: COMDICT Dictionary | |
---|---|
アナログデータ | [あなろぐでーた, anarogude-ta] analog data |
イメージデータ | [いめーじでーた, ime-jide-ta] image data |
エレメント | [えれめんと, eremento] element (e.g. in data transmission) |
エントリ順データセット | [エントリじゅんデータセット, entori jun de-tasetto] ESDS, Entry-Sequenced Data Set |
キー順データセット | [キーじゅんデータセット, ki-jun de-tasetto] KSDS, Key-Sequenced Data Set |
コード独立形データ通信 | [コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] code-independent data communication |
コード透過形データ通信 | [コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] code-transparent data communication |
サービスデータ単位 | [サービスデータたんい, sa-bisude-ta tan'i] SDU, Service Data Unit |
システムデータ | [しすてむでーた, shisutemude-ta] system data |
セクタのデータ領域 | [せくたのデータりょういき, sekutano de-ta ryouiki] data field of a sector |
センスデータ | [せんすでーた, sensude-ta] sense data |
データ | [でーた, de-ta] datum, data |
データ(の)階層 | [データのかいそう, de-ta nokaisou] data hierarchy |
データインスタンス | [でーたいんすたんす, de-tainsutansu] data instance |
データインタフェース | [でーたいんたふぇーす, de-taintafe-su] data interface |
データインテンシブ | [でーたいんてんしぶ, de-taintenshibu] data intensive |
データインベントリ | [でーたいんべんとり, de-tainbentori] data inventory |
データウェアハウス | [でーたうえあはうす, de-taueahausu] data warehouse, data warehousing |
データエンジン | [でーたえんじん, de-taenjin] data engine |
データエントリ | [でーたえんとり, de-taentori] data entry |
データクラフト | [でーたくらふと, de-takurafuto] data craft |
データグローブ | [でーたぐろーぶ, de-taguro-bu] data glove (for VR) |
データステーション | [でーたすてーしょん, de-tasute-shon] data station |
データストレージ | [でーたすとれーじ, de-tasutore-ji] data storage |
データセンタ | [でーたせんた, de-tasenta] data centre |
データセンター | [でーたせんたー, de-tasenta-] data center |
データタグ | [でーたたぐ, de-tatagu] data tag |
データタグ形式 | [データたぐけいしき, de-ta tagukeishiki] data tag pattern |
データチャネル装置 | [データチャネルそうち, de-tachaneru souchi] data channel equipment |
データディクショナリ | [でーたでいくしょなり, de-tadeikushonari] data dictionary |
データの丸め | [データのまるめ, de-ta nomarume] data rounding |
データの保全性 | [データのほぜんせい, de-ta nohozensei] data integrity |
データの先頭 | [データのせんとう, de-ta nosentou] beginning of data |
データの品質 | [データのひんひつ, de-ta nohinhitsu] data quality |
データの基底アドレス | [データのきていアドレス, de-ta nokitei adoresu] base address of data |
データの完全性 | [データのかんぜんせい, de-ta nokanzensei] data integrity |
データの汚染 | [データのおせん, de-ta noosen] data corruption, data contamination |
データパイプ | [でーたぱいぷ, de-tapaipu] data pipe |
データバス | [でーたばす, de-tabasu] data bus |
データビット長 | [データビットちょう, de-tabitto chou] data bit length |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
データ | [でーた, de-ta] Thai: ข้อมูล English: data |
データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] Thai: ฐานข้อมูล English: database |
Thai-English-French: Volubilis Dictionary 20.1 | |
---|---|
แบบจำลองข้อมูล | [n. exp.] (baēp jamløn) EN: data model FR: |
บูรณภาพของข้อมูล | [n. exp.] (būranaphāp ) EN: data integrity FR: intégrité des données [f] |
ชนิดข้อมูล | [n. exp.] (chanit khøm) EN: data type FR: type de données [m] |
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล | [n. exp.] (chǿngthāng ) EN: data transmission channel FR: |
ชุดข้อมูล | [n. exp.] (chut khømūn) EN: data set FR: sélection [f] |
ดาต้า | [n.] (dātā) EN: data FR: données [fpl] |
ดาต้าเซ็นเตอร์ | [n. exp.] (dātā sentoē) EN: data center FR: |
อีดีพี | [abv.] (Ī.Dī.Phī.) EN: EDP (Electronic Data Processing) FR: |
จัดการข้อมูล | [v. exp.] (jatkān khøm) EN: process data FR: |
การแบ่งกลุ่มข้อมูล | [n. exp.] (kān baeng k) EN: data clustering ; data classification FR: |
การแบ่งประเภทข้อมูล | [n. exp.] (kān baeng p) EN: data classification FR: |
การบีบอัดข้อมูล | [n. exp.] (kān bīp at ) EN: data compression FR: compression de données [f] |
การเก็บรวบรวมข้อมูล | [n. exp.] (kān kep rūa) EN: data collection FR: collecte de données [f] |
การคุ้มครองข้อมูล | [n. exp.] (kān khumkhr) EN: personal data FR: protection des données personnelles [f] |
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | [n. exp.] (kān khumkhr) EN: personal data protection FR: protection des données personnelles [f] |
การนำเสนอข้อมูล | [n. exp.] (kān nam san) EN: data presentation FR: présentation des données [f] |
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล | [n. exp.] (kān øk baēp) EN: data analysis design FR: |
การโอนย้ายข้อมูล | [n. exp.] (kān ōn yāi ) EN: data transfer FR: transfert de données [m] |
การแปลงข้อมูล | [n. exp.] (kān plaēng ) EN: data transformation FR: |
การแปลงผันข้อมูล | [n. exp.] (kān plaēngp) EN: data conversion FR: conversion de données [f] |
การป้องกันข้อมูล | [n. exp.] (kān pǿngkan) EN: data protection FR: protection des données [f] |
การแปรรูปข้อมูล | [n. exp.] (kān praērūp) EN: data transformation FR: |
การประมวลผลข้อมูล | [n. exp.] (kān pramūan) EN: data processing FR: traitement des données [m] |
การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ | [n. exp.] (kān pramūan) EN: Electronic Data Processing (EDP) FR: |
การรับส่งข้อมูล | [n. exp.] (kān rapsong) EN: data transmission FR: transmission de données [f] |
การรวบรวมข้อมูล | [n. exp.] (kān rūaprūa) EN: data collection ; data acquisition ; collecting data FR: collecte de données [f] |
การสำรองข้อมูล | [n. exp.] (kān samrøng) EN: data backup FR: sauvegarde des données [f] |
การสรุปข้อมูล | [n. exp.] (kān sarup k) EN: summarizing data FR: |
การสื่อสารข้อมูล | [n. exp.] (kānseūsān k) EN: data communication FR: |
การส่งข้อมูล | [n. exp.] (kān song kh) EN: data transfer ; data tranmission FR: transfert de données [m] |
การส่งข้อมูลแบบอนุกรม | [n. exp.] (kān song kh) EN: serial data transmission FR: |
การส่งข้อมูลแบบขนาน | [n. exp.] (kān song kh) EN: parallel data transmission FR: |
การส่งผ่านข้อมูล | [n. exp.] (kān song ph) EN: data transfer ; data transmission FR: transfert de données [m] |
การแทนข้อมูล | [n. exp.] (kān thaēn k) EN: data representation FR: |
การตีความหมายข้อมูล | [n.] (kān tīkhwām) EN: interpretation of data ; data interpretation FR: interprétation des données [f] |
การตรวจสอบข้อมูล | [n. exp.] (kān trūatsø) EN: data cleaning FR: |
การวิเคราะห์ข้อมูล | [n. exp.] (kān wikhrǿ ) EN: data analysis FR: analyse des données [f] ; analyse de données [f] |
การวิเคราะห์ข้อมูลดิบ | [n. exp.] (kān wikhrǿ ) EN: data analysis FR: analyse des données [f] ; analyse de données [f] |
เก็บข้อมูล | [v. exp.] (kep khømūn) EN: record data FR: enregistrer des données ; conserver des informations |
คลังข้อมูล | [n. exp.] (khlang khøm) EN: database ; data bank FR: base de données [f] ; banque de données [f] |
German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary | |
---|---|
Buchhaltungsdaten | {pl}accounting data |
Bezugsdaten | {pl}acquisition data |
Arbeitszustand | {m} des Übertragungskanals [comp.]active data link channel |
Istdaten | {pl}actual data |
Adressdaten | {pl}address data |
Adressdatenverarbeitung | {f}address data processing |
Zuordnungsdaten | {pl}allocation data |
Alphadaten | {pl} [comp.]alpha data |
Klimadaten | {pl}ambient data |
Analogdatenverarbeitung | {f}analogue data processing |
Anwendungsdaten | {pl}application data |
Artikelstammdaten | {pl} [comp.]article master data |
Blinddaten | {pl}dummy data |
Synchrondatenerfassung | {f}by-product data collection |
Kundendaten | {pl}customer data |
Datenaufzeichnung | {f} [comp.]data recording; data journalling; data logging |
Datentyp | {m} | allgemeiner Datentypdata type | generic data type |
Datei | {f}file; data file |
Auslegungswerte | {pl}design data |
Dialogdatenverarbeitung | {f}interactive data processing |
Reifenmaße | {pl}dimensional tyre data; tyre dimensional data |
Bereitsignal | {n} des DatenendgerätsDTR : Data Terminal Ready |
Telematik | {f}electronic data transmission |
Betriebsdatenauswertung | {f}evaluation of operational data |
Betriebsdatenerfassung | {f}factory data capture; industrial data capture |
Fernerkundungsdaten | {pl}remote sensing data |
Gleitkommadaten | {pl}floating point data |
Dateigeneration | {f}generation data set |
Datenschutzbeauftragte | {m,f}; Datenschutzbeauftragterdata security engineer; data protection registrar |
Stammdaten | {pl}historical data |
Eingangsdaten | {pl}input data; incoming data |
Eingabedaten | {pl}input data |
Eingabefehler | {m} [math.]input data error |
Datenintegration | {f}integration of data |
Ordnungsdaten | {pl} (Schlüsseldaten) [comp.]key data |
Stammdaten | {pl}legacy data |
Datenbibliothek | {f}library of data |
Maschinendatenerfassung | {f}machine data logging |
Materialsichheitsdatenblätter | {pl}material safety data sheets |
Messdatenauswertung | {f}measurement data evaluation |