English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
สมุด | (n.) notebook |
สมุด | (n.) book See also: workbook, notebook, exercise book, booklet |
สมุดข่อย | (n.) Thai long book made of pulp from trees of the family Uricaceae Syn. สมุดไทย, สมุดดำ |
สมุดฉีก | (n.) writing pad See also: scratch pad |
สมุดดำ | (n.) Thai long book made of pulp from trees of the family Uricaceae Syn. สมุดไทย |
สมุดบัญชี | (n.) account book |
สมุดบันทึก | (n.) note book Syn. สมุด, ไดอารี่, อนุทิน, บันทึกประจำวัน |
สมุดบันทึก | (n.) diary See also: memorandum book |
สมุดปกขาว | (n.) white book |
สมุดปฏิทินโหร | (n.) almanac See also: calendar Syn. ปูมโหร, ปูม |
สมุดพก | (n.) school report See also: report card, school children´s report book |
สมุดภาพ | (n.) picture album See also: photograph album Syn. อัลบั้ม |
สมุดรายงาน | (n.) report book |
สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ | (n.) telephone directory |
สมุดวาดเขียน | (n.) drawing book |
สมุดอวยพร | (n.) note book for well-wishers |
สมุดเยี่ยม | (n.) visiting book |
สมุดเยี่ยม | (n.) visitor´s book |
สมุดโทรศัพท์ | (n.) telephone directory Syn. สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ |
สมุดไทย | (n.) Thai long book made of pulp from trees of the family Uricaceae Syn. สมุดดำ |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
notepad | สมุดพกเป็นโปรแกรมหนึ่งในประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ในระบบวินโดว์ (ในแมคอินทอชก็มี) เป็นโปรแกรมที่ทำให้สามารถบันทึกโน้ตย่อ หรือ เรื่องราวสั้น ๆ เก็บไว้ และจะเรียกมาดูได้ตลอดเวลา แม้ว่าในขณะนั้นจะใช้โปรแกรมอื่นอยู่ (เหมือนกระดาษทด) |
album | (แอล' บัม) n. สมุดหน้าเปล่าสำหรับเก็บภาพแสตมป์หรืออื่น ๆ ,แผ่นเสียงขนาดใหญ่, ชุดแผ่นเสียง, สมุดลงนามของผู้มาเยี่ยม |
athenaeum | (แอธธินี'อัม) n. สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้, ห้องสมุด., Syn. atheneum |
atlas | (แอท'เลิส) n., (pl. atlases,atlantes) สมุดแผนที่,ชุดรวมแผนภาพและตาราง,กระดูกสันหลังส่วนคอที่ค้ำศีรษะ,ชื่อเทพเจ้ากรีกที่ค้ำฟ้าอยู่,คนที่แบกภาระหนักมาก,ชื่อขีปนาวุธขนาดยักษ์ของอเมริกา (book of maps) |
bank book | n. สมุดเงินฝากธนาคาร |
black book | n. สมุดรายชื่อคนที่ต้องได้รับโทษ,สมุดรายชื่อคนที่มีความผิด |
blank book | n. สมุดที่ว่างเปล่า |
boohoo | (บูฮู') {boohooed,boohooing,boohoos} vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ,ตำรา,หนังสืออ้างอิง,คัมภีร์,ภาค,เล่ม,แบบ,สมุดบัญชี,เนื้อเพลง,บทละคร,ถ้อยคำ,สมุดเช็ค,สมุดแสตมป์,สมุดรายชื่อ,สมุดบันทึก,บัญชี,บันทึก,บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
bookplate | n. ป้ายชื่อเจ้าของหนังสือหรือห้องสมุดที่ติดกับหนังสือ |
carrel | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด |
carrell | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด |
cartulary | n. สมุดเอกสารสัญญา,หนังสือบันทึกสัญญา |
cashbook | n. สมุดบันทึกการจ่ายเงินและการนับเงิน,บัญชีเงินสด |
cd-rom | (ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง |
checkbook | n. สมุดเช็ค |
copybook | (คอพ'พีบุค) n. สมุดสำหรับลอกแบบ |
diarise | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) |
diarize | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) |
laptop | ขนาดวางตัก แล็ปทอป ใช้บอกขนาดของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ที่มีขนาดเล็กจนวางบนตักได้ในขณะใช้ ปัจจุบัน นิยมเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนี้ว่า ขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เพราะสามารถนำติดตัวไปไหนมาไหนได้เหมือนสมุดบันทึก มีน้ำหนักน้อย และทำได้บางลงมาก |
library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด,หอเก็บหนังสือ,การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ |
library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด |
library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน |
manual | (แมน'นวล) adj. เกี่ยวกับมือ,ด้วยมือ,ทำด้วยมือ,เกี่ยวกับหัตถกรรม,เกี่ยวกับคู่มือ. n. สมุดคู่มือ, See also: manually adv. |
notebook | (โนทฺ'บุค) n. สมุดบันทึก |
notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโล กรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notepad computer |
compact disk | ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง |
da | 1. abbr. dopamine 2. (ดีเอ) ย่อมาจาก desk accessory (แปลว่า เครื่องใช้อำนวยความสะดวก) มีอยู่ในเครื่องแมคอินทอช หมายถึง โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ เช่น เครื่องคิดเลข สมุดโน้ต นาฬิกา โปรแกรมเหล่านี้สามารถเรียกมาใช้ได้ แม้ในขณะที่ทำโปรแกรมอื่นอยู่ ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์ ก็มีกลุ่มโปรแกรมที่ชื่อ Accessories ซึ่งมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ในลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น มีเครื่องคิดเลข นาฬิกา สมุดโน้ต ปฎิทิน มีโปรแกรมที่จำเป็น เช่น ประมวลผลคำ (word processing) และ โปรแกรมวาดภาพ ฯลฯ |
magnetic ink | หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น |
magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพกโน้ตแพดคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโลกรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notebook computer |
palmtop computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพียงเท่าฝ่ามือ เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) หรือ ขนาดสมุดโน้ต (notebook) แต่ก็มีลักษณะของคอมพิวเตอร์ครบถ้วนกล่าวคือ มีทั้งหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ และหน่วยแสดงผล |
passbook | (พาส'บุค) n. สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร |
patent rolls | n. สมุดจดทะเบียนสิทธิบัตร |
prayer book | n. หนังสือสวดมนต์,สมุดทำวัตร |
register | (เรจ'จิสเทอะ) n. การลงทะเบียน,ทะเบียน,สมุดทะเบียน,เจ้าหน้าที่ทะเบียน,บันทึก,เครื่องบันทึก,เครื่องรับจ่ายเงินสดโดยอัตโนมัติ (หรือcash register) ,การทาบกันของกระบวนการพิมพ์สอดสี vt. บันทึก, See also: registrable adj. registerable adj. |
micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
pc | พีซีส่วนบุคคลย่อมาจากคำว่า personal computer (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป ดู microcomputer ประกอบ |
personal computer | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PC (อ่านว่า พีซี) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป แต่ในบางครั้งนำมาใช้หมายถึงเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม หรือประเภทเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เพื่อให้เห็นแตกต่างระบบแมคอินทอช |
registration | (เรจจิสเทร'เชิน) n. การจดทะเบียน,การลงทะเบียน,สมุดจดทะเบียน,วิธีการพิมพ์สอดสีให้เข้ากัน, See also: registrational adj. |
registry | (เรจ'จิสทรี) n. การลงทะเบียน,การจดทะเบียน,การขึ้นทะเบียน,สำนักงานทะเบียน,สำนักงานจดทะเบียน,สัญชาติเรือสินค้าที่จดทะเบียนไว้,สมุดจดทะเบียน,รายละเอียดของทะเบียนที่จดไว้ |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
album | (n) อัลบั้มรูป,สมุดใส่รูป |
annals | (n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี,หนังสือประจำปี |
atlas | (n) สมุดแผนที่ |
blotter | (n) กระดาษซับหมึก,สมุดบันทึกเหตุการณ์ |
book | (n) หนังสือ,ตำรา,สมุด,คัมภีร์ |
bookmobile | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ |
catalog | (n) บัญชีรายชื่อ,สมุดรายชื่อของ,สมุดแจ้งรายการสินค้า |
catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ,สมุดรายชื่อของ,สมุดแจ้งรายการสินค้า |
copybook | (n) สมุดลอกแบบ,สมุดคัดลายมือ |
diary | (n) อนุทิน,สมุดบันทึกประจำวัน,สมุดไดอารี |
journal | (n) บันทึก,หนังสือพิมพ์,วารสาร,รายงานการประชุม,สมุดรายวัน,นิตยสาร |
library | (n) หอสมุด,ห้องสมุด |
notebook | (n) สมุดบันทึกข้อความ |
scrapbook | (n) สมุดปิดภาพ |
scroll | (n) บัญชีหางว่าว,ม้วนกระดาษ,สมุดรายชื่อ,รายการ |
sketchbook | (n) สมุดโครงเรื่อง,สมุดร่าง |
tablet | (n) แผ่นจารึก,ยาเม็ด,ป้าย,สมุดฉีก,สมุดแฟ้ม,สมุดบันทึก |
terrier | (n) สุนัขล่าเนื้อชนิดหนึ่ง,สมุดทะเบียนที่ดิน |
tome | (n) หนังสือเล่มโต,สมุด |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
commonplace book | สมุดข้อมูล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
white paper | สมุดปกขาว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
depository library | ห้องสมุดรับฝาก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก, โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพก, โน้ตแพดคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Bought day book | สมุดรายวันซื้อ [การบัญชี] |
Day book | สมุดรายวัน [การบัญชี] |
Scrolls, Thai | สมุดไทย [TU Subject Heading] |
Telephone directory | สมุดโทรศัพท์สมุดโทรศัพท์เป็นหนังสือที่จัดทำโดยบริษัทโทรศัพท์ จัดทำเผยแพร่เป็นประจำทุกปี ให้รายชื่อของผู้ใช้โทรศัพท์เรียงตามลำดับอักษรชื่อ-นามสกุล แยกหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจไว้ข้างท้ายเล่ม แต่ละรายการให้หมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่ หรือสถานที่ตั้งของหน่วยงานนั้น นอกจากนี้ยังมีสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง ที่อาจจัดพิมพ์ไว้ท้ายเล่มหรือจัดพิมพ์แยกต่างหาก โดยเรียงลำดับตามประเภทของสินค้าและบริการพร้อมให้หมายเลขโทรศัพท์และที่อยู่ของร้านค้านั้น ๆ สมุดโทรศัพท์จัดเป็นนามานุกรมท้องถิ่น (Local Directories) ประเภทหนึ่งที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายชื่อของบุคคล หน่วยงานราชการ และบริษัท ร้านค้าต่าง ๆ ในท้องถิ่น นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมีการจัดทำสมุดโทรศัพท์ออนไลน์ที่สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้สะดวกยิ่งขึ้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Acquisition | การจัดหา การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง |
Annotation | บรรณนิทัศน์บรรณนิทัศน์ เป็นการย่อเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศของเอกสาร ผู้จัดทำบรรณนิทัศน์ อาจได้แก่ ผู้ผลิตหนังสือ เพื่อการเป็นการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาหนังสือ ส่วนห้องสมุดจัดทำบรรณนิทัศน์ เพื่อแจ้งแก่ผู้ใช้ห้องสมุดเป็นการเรียกความสนใจ และเพื่อแจ้งแก่บุคลากรห้องสมุด เพื่อเป็นการช่วยตัดสินใจในการพิจารณาเลือกซื้อหรือจัดหา ตัวอย่าง เช่น บรรณนิทัศน์งานเขียนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หรือมีการจัดทำบรรณนิทัศน์เฉพาะเรื่องเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่้น บรรณนิทัศน์หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 |
Backlog | หนังสือค้างออสบอร์น [1] และ ปิเตอร์นิค [2] ได้ให้คำจำกัดความของรายการที่ค้างดำเนินการ (Arrear of Cataloging) ไว้ดังนี้ เป็นรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดที่ไม่ได้รับการดำเนินการตามขั้นตอนใดๆ เลย ซึ่งอาจได้แก่ หนังสือที่ห้องสมุดได้รับบริจาคมาเป็นจำนวนมากๆ หรือเป็นหนังสือที่ได้รับการดำเนินการช้าเกินควรหรือเป็นหนังสือที่ได้รับการทำบัตรรายการยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จนถึงยังมิได้ดำเนินการในขั้นตอนใดเลย นับตั้งแต่ได้รับหนังสือมา หรือ หมายถึง หนังสือที่ไม่ได้รับการทำบัตรรายการ ซึ่งอาจเนื่องจากลักษณะภายนอกของหนังสือ (accident) หรือเพราะเป็นผลมาจากเหตุการณ์บางอย่างที่เป็นอุปสรรค (circumstance) ซึ่งสามารถสรุปสาเหตุที่สำคัญๆ [3]ได้ดังนี้ |
Collection | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fee-based library services | บริการห้องสมุดเชิงพาณิชย์ [TU Subject Heading] |
Fine | ค่าปรับห้องสมุด มีการระบุถึงการปรับในระเบียบการใช้ห้องสมุด กรณีคืนหนังสือช้ากว่ากำหนด หรือ ผู้ใช้ทำหนังสือห้องสมุดหาย หรือชำรุด จะมีการระบุว่า ต้องชำระเป็นเงินทดแทนหนังสือเล่มนั้น (หรืออาจจะซื้อหนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกันมาทดแทน) |
Bookmobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ Bookmobile library หมายถึง ห้องสมุดเคลื่อนที่ เป็นบริการประเภทหนึ่งของห้องสมุดประชาชนใช้ยานพาหนะที่ออกแบบเพื่อใช้เป็นห้องสมุด เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงหนังสือได้ ภายในยานพาหนะนี้จะมีพื้นที่เพียงพอสำหรับคนที่จะนั่งและอ่านหนังสือภายในรถและสามารถบรรทุกหนังสือออกไปให้บริการแก่ประชาชนและกลุ่มบุคคลที่มีความยากลำบากในการเข้าถึงห้องสมุด เช่น ชุมชนแออัด บ้านพักคนชรา สถานพักฟื้น เป็นต้น ทั้งในท้องถิ่นที่ห้องสมุดนั้นตั้งอยู่หรือในท้องถิ่นที่อยู่ห่างไกล สำหรับยานพาหนะที่ใช้มีทั้งรถยนต์ รถลาก หรือเรือ ผู้ให้บริการในรถอาจเป็นเจ้าหน้าที่ที่ขับรถทำหน้าที่เป็นบรรณารักษ์ไปด้วยในตัว บางทีมีพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ขับรถและบรรณารักษ์ นอกจากให้บริการหนังสืออ่านแล้วรถของห้องสมุดเคลื่อนที่บางแห่งอาจมีสื่ออื่น ๆ เช่น วีดิทัศน์ เทปเสียง ซีดี-รอม ของเล่น และเกมต่าง ๆ ให้บริการด้วย บริการของห้องสมุดเคลื่อนที่เป็นประโยชน์อย่างมาก แก่ประชาชนที่อยู่ห่างไกลที่ไม่สามารถไปใช้บริการของห้องสมุดได้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะไม่มีเวลา การคมนาคมไม่สะดวก หรือยังไม่เห็นความสำคัญของห้องสมุดหรือสาเหตุอื่น ๆ |
Bookplate | บรรณสิทธิ์ (หมายถึง ป้ายหรือตราประจำตัวของเจ้าของหนังสือ)Bookplates เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์บอกประวัติการครอบครองหนังสือ คำว่า Bookplates นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ส่วนประเทศอื่นๆ ในยุโรปจะเรียกว่า เอ็กซ์ ลิบรีส์ (ex libris) ในภาษาละติน แปลว่า "จากห้องสมุดของ..." แล้วต่อด้วยอักษรย่อชื่อ ตราประจำตัว หรือตราประจำตระกูลของผู้เป็นเจ้าของหนังสือ |
Broad classification | การจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆการจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆ (Broad classification) หมายถึง การจัดหมู่หนังสือโดยเลือกหมวดหมู่ใหญ่อย่างกว้าง ๆ มากกว่าเลือกหมวดหมู่ย่อย และพยายามใช้หมวดหมู่ย่อยให้น้อยที่ที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก) จัดหมวดหมู่เบื้องต้นสำหรับหนังสือที่ห้องสมุดพึ่งได้รับ เพื่อเตรียมไว้สำหรับจัดหมวดหมู่ละเอียดต่อไป ข) เพื่อใช้ในห้องสมุดขนาดเล็กที่มีหนังสือหมวดหมู่ต่าง ๆ เป็นจำนวนไม่มากนัก จึงไม่จำเป็นต้องจำแนกทรัพยากรสารสนเทศอย่างละเอียด เช่น การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ อาจใช้เลขหมู่ 641.5 แทนการใช้เลขหมู่ 641.5945 สำหรับตำราอาหารอิตาเลียน เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Postal libraries | ห้องสมุดไปรษณีย์ [TU Subject Heading] |
Printed catalog | รายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Private school libraries | ห้องสมุดโรงเรียนเอกชน [TU Subject Heading] |
Social science libraries | ห้องสมุดสังคมศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Spine | สันหนังสือส่วนกลางระหว่างปกหน้ากับปกหลัง สำหรับช่วยยึดปกไว้ มักจะมี ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง และชื่อสำนักพิมพ์ เป็นส่วนที่ห้องสมุดไว้เขียนเลขเรียกหนังสือ |
Caldecott medal | รางวัลเหรียญคัลดีคอตรางวัลเหรียญคัลดีคอต (Caldecott medal) เป็นรางวัลวรรณกรรมที่มอบให้แก่ผู้วาดภาพประกอบหนังสือภาพสำหรับเด็ก สำหรับหนังสือภาพสำหรับเด็กที่ดีเด่นที่สุดที่ตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกาในปีที่ผ่านมา โดยมอบรางวัลนี้ให้เป็นประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ.1938 เป็นต้นมา จากสมาคมเพื่อบริการห้องสมุดแก่เด็ก (Association for Library Service to Children) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association) รางวัลนี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ศิลปินและนักวาดภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็กชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 คือ แรนดอล์ฟ คัลดีคอต (Randolph Caldecott) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Centralized cataloging | การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลางการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง เป็นการนำงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ที่ส่วนกลาง เพื่อทำหน้าที่วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศให้กับส่วนกลางหรือหอสมุดกลาง และหน่วยงานอื่นๆ หรือห้องสมุดคณะ หรือห้องสมุดสถาบัน ภายใต้หน่วยงานใหญ่เดียวกัน โดยห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน จะทำหน้าที่บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากส่วนกลางแต่เพียงอย่างเดียว |
Dealer | ตัวแทนจำหน่ายตัวแทนจำหน่ายหรือผู้จัดจำหน่าย (Dealer) มีความหมายคล้ายกับคำว่า Agent ในความหมายทั่วไป ตัวแทนจำหน่ายหรือผู้จัดจำหน่าย หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างห้องสมุดและสำนักพิมพ์ มีความรับผิดชอบในกระบวนการจัดหาให้แก่ห้องสมุด ได้แก่ การสมัครเป็นสมาชิก การรับ-ส่ง การต่ออายุสมาชิก การทวง การจ่ายเงิน และการแจ้งข้อมูลต่าง ๆ |
Decentralized cataloging | การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจายการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจาย เป็นการจัดการงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ตามหน่วยงานต่างๆ ภายใต้สังกัดเดียวกัน กล่าวคือ หอสมุดกลาง และห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน ต่างก็ทำหน้าที่ตั้งแต่การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และการให้บริการ |
Discard | การจำหน่ายหนังสือออกหมายถึง การคัดหนังสือออก หรือการจำหน่ายหนังสือออก หรือการเคลื่อนย้ายทรัพยากรสารสนเทศออก เป็นกระบวนการพิจารณาการคัดเลือกหนังสือ ซึ่งอาจจะเป็นคัดออกอย่างถาวรโดยมีการจำหน่ายออกจากห้องสมุด หรือเพียงแต่การนำออกชั้นให้บริการ โดยจะมีการเก็บหนังสือที่ถูกคัดออกเหล่านี้ไว้ที่ห้องเก็บหรือพื้นที่เก็บหนังสือ แต่อาจจะยังคงมีการให้บริการอยู่ เมื่อมีการร้องขอ |
Ephemera | ของสะสม Ephemera แปลว่า ของสะสมจากสิ่งที่ในตอนแรกผลิตมาเพื่อการใช้งานระยะสั้น ๆ เช่น ตั๋วรถโดยสารประจำทาง เป็นคำที่มาจากคำว่า ephemeron ในภาษากรีกหมายถึง "สิ่งที่อยู่ยาวนานไม่เกินหนึ่งวัน " ของสะสมเหล่านี้ ได้แก่ บัตรลงคะแนน บัตรเบสบอล ที่คั่นหนังสือ หนังสือการ์ตูน คูปอง รูปลอก ใบปลิว การ์ดอวยพร บัตรเชิญ ใบปลิว เแผ่นพับโฆษณา จุลสาร ของเล่นกระดาษ โปสเตอร์ รูปถ่าย แสตมป์ ไปรษณียบัตร ปฏิทิน ตั๋ว ฯลฯ จากสิ่งพิมพ์ในชีวิตประจำวันที่ถูกมองว่ามีคุณค่าเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีคุณค่าถาวรเพราะเป็นสิ่งที่ผลิตขึ้นมาในปริมาณมากหรืออยู่ในรูปแบบที่ใช้แล้วทิ้ง บางครั้งรายการของสะสมยังคงรักษาและแสดงคุณภาพกราฟิกหรือเป็นการเชื่อมโยงกับบุคคล เหตุการณ์ หรือกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจง ในด้านห้องสมุดและสารนิเทศศาสตร์ คำว่า "Ephemera" ยังหมายถึงสิ่งพิมพ์แผ่นเดียวหรือเอกสารหน้าเดียวที่จะทิ้งไปภายหลังการใช้ ห้องสมุดขนาดใหญ่อาจเก็บรวบรวม จัดระบบและเก็บรักษาของสะสมเหล่านี้ไว้เป็นทรัพยากรสารนิเทศพิเศษ และเนื่องจากของสะสมเหล่านี้หมายถึงวัสดุที่มีการหมุนเวียนสั้น ๆ โดยมีคุณค่าต่อการอ้างอิง หรือมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และวรรณคดีเพียงพอที่จะเก็บรักษาไว้เป็นจดหมายเหตุถาวร เช่น รายละเอียดของวิชาที่เปิดเรียนและตารางการเรียนการสอน จดหมายข่าว นามานุกรมของบุคลากร เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Gift | วัสดุสารนิเทศที่ได้รับบริจาคGift คือ วัสดุสารนิเทศที่ได้รับบริจาค การบริจาควัสดุสารนิเทศให้กับห้องสมุด อาจเป็นการบริจาคให้โดยบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร หรือห้องสมุดอื่น ๆ วัสดุที่ได้รับบริจาคส่วนใหญ่เป็นสิ่งที่ห้องสมุดไม่ได้ร้องขอและห้องสมุดได้รับโดยไม่คาดคิด แต่ทรัพยากรสารสนเทศที่ขอรับบริจาคอาจเป็นทรัพยากรที่ห้องสมุดร้องขอ ทั้งนี้วัสดุที่ได้รับบริจาคจะถูกคัดเลือกเพื่อพิจารณานำเข้าห้องสมุด โดยให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาทรัพยากรของห้องสมุด หรือจำหน่ายออกไปโดยการขายหรือแลกเปลี่ยนกับกับห้องสมุดอื่น สำหรับการรับบริจาคหนังสือและวัสดุการศึกษาของห้องสมุด ห้องสมุดจำเป็นต้องมีเกณฑ์การรับบริจาคที่ต้องรับรู้ร่วมกันทั้งผู้ให้และผู้รับ เพื่อให้วัสดุสารนิเทศที่ได้รับมาสามารถสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัย ได้ตรงตามหลักสูตร และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ หากห้องสมุดไม่สามารถนำทรัพยากรห้องสมุดดังกล่าวออกให้บริการได้ ห้องสมุดควรมีนโยบายส่งต่อหรือนำหนังสือและวัสดุการศึกษาที่ได้รับบริจาคไปทำประโยชน์อย่างอื่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Handbook | หนังสือคู่มือพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมาย "คู่มือ" ว่า หมายถึง สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง [1] |
Inventory | การสำรวจหนังสือการสำรวจหนังสือ หมายถึง การติดตามสถานภาพของหนังสือที่ห้องสมุดมีให้บริการ เป็นการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด เพื่อให้ทราบว่า หนังสือนั้น ยังคงอยู่ให้บริการที่ชั้นหรือไม่ และมีการจัดเรียงอย่างถูกต้องหรือไม่ หนังสือรายการใดที่มีการยืมออก สามารถตรวจสอบได้จากหลักฐานการยืมออก หรือมีปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลห้องสมุด และเพื่อให้ตรวจสอบถึงสภาพของหนังสือที่ชำรุด สมควรได้รับการซ่อมแซม หรือควรจำหน่าย หรือควรซื้อมาทดแทน หรือ รายการใดที่สูญหายไป เป็นจำนวนเท่าใด ควรจะซื้อมาทดแทนหรือไม่ |
Library card | บัตรห้องสมุดบัตรห้องสมุด (Library card) เป็นบัตรกระดาษหรือบัตรพลาสติกขนาดเล็กที่ออกให้โดยห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมวัสดุต่างๆ ของห้องสมุดได้ เช่น หนังสือ แผ่นซีดี วีดิทัศน์ หนังสือเสียง เป็นต้น และเพื่อใช้บริการอื่นๆ ของห้องสมุด ห้องสมุดประชาชนจะออกบัตรห้องสมุดให้แก่ผู้ใช้ที่อาศัยอยู่ในเมืองที่ห้องสมุดนั้นตั้งอยู่โดยไม่คิดค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด ในการขอทำบัตรห้องสมุดนี้ผู้ใช้ต้องใช้บัตรประชาชนหรือใบขับขี่รถยนต์ประกอบในการขอทำบัตรห้องสมุดเพื่อเป็นการยืนยันที่อยู่ปัจจุบัน โดยบัตรห้องสมุดของห้องสมุดประชาชนในปัจจุบันมีลักษณะเหมือนกับบัตรเครดิต ซึ่งบัตรแต่ละใบจะมีบาร์โค้ดเชื่อมโยงกับข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เมื่อคอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลจากบาร์โค้ดจะเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ห้องสมุด ซึ่งพนักงานห้องสมุดจะสามารถให้ยืมวัสดุของห้องสมุด ต่ออายุการยืม และตรวจสอบรายการการยืมได้ |
Lots of Copies Keep Stuff Safe | ล็อคคิสLOCKSS (ล็อคคิส) ย่อมาจาก Lots of Copies Keep Stuff Safe ได้รับการพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Standford University) เป็นระบบที่ช่วยให้ห้องสมุดสามารถให้บริการเนื้อหาของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ นับตั้งแต่วันที่ห้องสมุดเป็นสมาชิก โดยห้องสมุดจะจัดเก็บถาวรไว้ ซึ่งทำให้ยังคงให้บริการเนื้อหาต่อไปได้ แม้ว่าหมดอายุสมาชิกแล้วก็ตาม สำนักพิมพ์เองก็ยังคงเก็บสิ่งพิมพ์ผลิตได้ เช่นเดียวกับผู้อ่านที่ยังเข้าถึงวารสารได้อย่างต่อเนื่อง LOCKSS จะจัดเก็บเนื้อหาของวารสาร โดยการเข้าไปเก็บจากเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ต่างๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไปและสม่ำเสมอ |
Manuscript | ต้นฉบับตัวเขียนManuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Open access | การเข้าถึงแบบเสรีในช่วงเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา ห้องสมุดทั่วโลกโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนา ประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการบอกรับวารสารวิชาการที่มีราคาสูง เนื่องจากแนวโน้มราคาวารสารวิชาการมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ จำเป็นต้องคำนึงถึงวิธีการกำหนดนโยบาย และมาตรการ เพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้แบบเปิด (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของวารสารวิชาการนั่นเอง |
Outsourcing | การจัดจ้างคนภายนอกการจัดจ้างคนภายนอก (Outsourcing) เป็นการว่าจ้างให้บริษัทหรือหน่วยงานภายนอกห้องสมุดเข้ามารับผิดชอบหรือดำเนินงานเพื่อช่วยงานในบางส่วนชั่วคราวหรืองานพื้นฐานระยะยาว เพื่อแก้ปัญหาด้านงบประมาณและเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน ความจำเป็นในการจัดจ้างคนภายนอกมีเหตุผลและความจำเป็นหลายประการ คือ |
Reserved book | หนังสือจองคือ หนังสือที่อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาหนึ่งๆ กำหนดให้หนังสือดังกล่าวเป็นหนังสืออ่านประกอบในรายวิชาที่สอน โดยได้แจ้งให้ห้องสมุดและบรรณารักษ์จัดแยกหนังสือดังกล่าวออกเพื่อให้บริการแก่ผู้เรียนเป็นเฉพาะ หนังสือที่ถูกจัดเป็นหนังสือสำรอง จะมีระเบียบการยืมคืนพิเศษกว่าหนังสือทั่วไป คือ ระยะเวลาการยืมจะสั้นกว่าหนังสือทั่วไป เพื่อให้มีการหมุนเวียนการใช้งานอย่างทั่วถึงในกลุ่มผู้เรียน นอกจากระยะเวลาการยืมที่สั้นกว่าหนังสือทั่วไปแล้ว ค่าปรับกรณีที่ยืมเกินกำหนดส่งคืนก็จะสูงกว่าหนังสือทั่วไปด้วยเช่นกัน |
Suggestion box | กล่องรับความคิดเห็นห้องสมุดบางแห่งหาวิธีให้ผู้ใช้ห้องสมุดเสนอแนะวิธีการปรับปรุงการให้บริการหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายห้องสมุดและวิธีปฏิบัติของห้องสมุด โดยการเขียนเสนอแนะในแผ่นกระดาษและนำไปใส่ไว้ในกล่องรับความคิดเห็นที่ห้องสมุดจัดไว้ซึ่งอาจวางไว้ใกล้กับเคาน์เตอร์บริการยืม-คืนหนังสือ โต๊ะบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า หรือประตูทางเข้าห้องสมุด นอกจากนั้นบนรายการออนไลน์ (Online catalog) และบนหน้าเว็บของห้องสมุดยังให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อเสนอแนะและแสดงความคิดเห็นทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ สำหรับคำตอบของเจ้าหน้าที่และผู้บริหารห้องสมุดอาจจะติดไว้บนป้ายประกาศของห้องงสมุด หรือแสดงไว้ในส่วนพิเศษในหน้าโฮมเพจของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
systems analysis | การวิเคราะห์ระบบสำรวจระบบงาน หรือวิธีการทำงานที่ใช้กันอยู่เพื่อศึกษาว่าผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานมีวัถุประสงค์ในการทำงานอย่างไร ต้องการรายงานสารสนเทศอะไรบ้าง ระบบปัจจุบันตอบสนองความต้องการเหล่านี้ได้หรือไม่ การทำงานต่างๆ มีปัญหาอย่างไรบ้าง สมควรนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการอย่างไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น ห้องสมุดมีระบบให้นักเรียนยืมหนังสือโดยนักเรียนจะต้องเขียนชื่อลงในบัตรยืมหนังสือส่งให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดเก็บไว้ และบันทึกลงในสมุดยืมหนังสือ การวิเคราะห์ระบบห้องสมุดจะช่วยให้เห็นว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ปรับปรุงการยืมหนังสือสะดวกรวดเร็วขึ้นได้อย่างไร [คอมพิวเตอร์] |
Unnumbered page | หน้ากระดาษที่ไม่มีเลขหน้าหน้ากระดาษของสิ่งพิมพ์ ต้นฉบับตัวเขียนหรือหน้ากระดาษที่ว่างเปล่าที่ไม่มีเลขหน้า จะไม่นับรวมอยู่ในการเรียงลำดับเลขหน้า ในการทำบัตรรายการของห้องสมุด จะไม่ให้ความสนใจกับลำดับของหน้าที่ไม่มีเลขหน้า และจะปัดทิ้งไปถ้าไม่ได้เป็นส่วนที่สำคัญของสิ่งพิมพ์หรือให้อ้างไว้ในหมายเหตุ (Note) แต่ถ้าต้องการสืบค้นจำนวนหน้าที่ไม่มีเลขหน้าให้แน่ใจ ให้นับจำนวนหน้าดังกล่าวและอธิบายไว้ในส่วนของลักษณะรูปร่าง (Physical description) เพื่อบันทึกในรายการบรรณานุกรมโดยใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ (ตัวอย่างเช่น [65] หน้า) ถ้าจำนวนหน้ายังไม่มีการสืบค้นให้แน่ใจให้ประมาณจำนวนหน้าดังกล่าวโดยใช้เลขอารบิคและเขียนว่า ca. นำหน้าโดยไม่ต้องใส่เครื่องหมายวงเล็บ (ตัวอย่างเช่น ca. 250 หน้า) ลำดับหน้าที่ไม่มีเลขหน้านี้จะไม่ถือเป็นเรื่องสำคัญสำหรับหน้าโฆษณา หน้าที่ว่างเปล่า ฯลฯ |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
catalog | (n.) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์ Syn. catalogue |
catalogue | (n.) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์ See also: แค็ตตาล็อก Syn. catalog |
memorandum book | (n.) สมุด See also: สมุดบันทึก Syn. note pad |
note pad | (n.) สมุด See also: สมุดบันทึก Syn. memorandum book |
notebook | (n.) สมุด See also: สมุดบันทึก Syn. note pad, memorandum book |
planner | (n.) สมุดจดบันทึกตารางเวลา |
pad | (n.) สมุดฉีก Syn. note paper, memorandum |
scratch pad | (n.) สมุดฉีก |
sheets | (n.) สมุดฉีก Syn. folder, pad |
tablet | (n.) สมุดฉีก Syn. folder, pad, sheets |
scrapbook | (n.) สมุดติดรูปหรือข่าวที่ตัดมาจากสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ See also: สมุดเก็บภาพหรือรูป, อัลบั้มรูป Syn. memorabilia, notebook, portfolio |
swindle sheet | (sl.) สมุดบัญชี |
cashbook | (n.) สมุดบัญชีเงินสด |
daybook | (n.) สมุดบันทึก See also: ไดอารี่, บันทึกประจำวัน Syn. memoir, biography |
diary | (n.) สมุดบันทึก See also: ไดอารี่, บันทึกประจำวัน Syn. memoir, biography, daybook |
account book | (n.) สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร Syn. bankbook |
passbook | (n.) สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร Syn. bankbook, account book |
directory | (n.) สมุดรายนาม See also: สมุดรายชื่อ Syn. list, catalogue, file, register |
account book | (n.) สมุดลงทะเบียน Syn. cartulary |
cartulary | (n.) สมุดลงทะเบียน Syn. account book |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
My address book--obviously, stolen from my office. | สมุดจดที่อยู่ของผม เห็นได้ชัดว่า ถูกขโมยมาจากสำนักงานผม |
A notebook that she takes notes in, | สมุดจดที่เธอจดโน๊ตลงไป |
A thousand notebooks, some long numbers scribbled on the blackboard. | สมุดจดเป็นพันๆเล่ม มีตัวเลขยาวๆเขียน ลงบนกระดานดำ "3185296.." |
That's Ed's famous black book. | สมุดดำที่มีชื่อเสียงของเอ็ด |
My dad's address book so I can send out thank-yous for all the christening gifts. | สมุดที่อยู่ของพ่อ เพื่อฉันสามารถส่งคำขอบคุณไปให้สำหรับของขวัญในวันตั้งชื่อทั้งหมด |
A book full of names and numbers. | สมุดที่เต็มไปด้วยรายชื่อและตัวเลข |
The book is useless. | สมุดนั่น ไม่มีประโยขน์ |
The notebook is all we have! | สมุดนั่นเป็นสิ่งเดียวที่เรามีอยู่ |
This notebook has saved my skin more times than I care to mention. | สมุดนี่ช่วยฉันมานับครั้งไม่ถ้วน |
It looks like Victor Frankenstein's hand written account, of how he bought his creature to life. | สมุดนี่ดูเหมือนวิคเตอร์ แฟร์งเก้นสไตร์ ในนั้นเขียนคล้ายวิธีนำชีวิตเข้าสู่ร่างที่ตายแล้ว |
This book contained a map, a map with no names, precise directions from the unknown city to the secret Canyon of the Crescent Moon. | สมุดนี่บรรจุแผนที่, แผนที่ที่ไม่ม่ชื่อ, บอกทิศทางของเมืองที่สูญหาย อย่างระเอียด ไปที่แคนยอนลึกลับ รูปพระจันทร์เสี้ยว |
This book is the only chance I have of tracking Jack down. | สมุดนี้เป็นอย่างเดียวที่จะช่วยตามตัวแจ๊คได้ |
Their little black book. We can get it. The names, numbers, operators. | สมุดบัญชีดำ พวกเราสามารถเอามันได้ ทั้งชื่อ เบอร์ |
A ledger with a dark red cover. | สมุดบัญชีปกสีแดงเข้ม |
The energy accounting books are always strictly balanced. | สมุดบัญชีพลังงานมักจะ มีความสมดุลอย่างเคร่งครัด |
The truth is, Journal, I'm attracted to men. | สมุดบันทึก ความจริงคือ ฉันชอบผู้ชาย |
Dad's journal did mention a whole bunch of stuff, | สมุดบันทึกของพ่อ พูดถึงเรื่องพวกนี้เพียบ |
Benjamin Franklin's sketchbook. | สมุดบันทึกของเบ็นจามิน แฟรงคลิน |
Where's my diary? | สมุดบันทึกฉันอยู่ไหน |
I'm guessing, for you, birthdays rarely meant New pens and a notebook to fill with your ideas. | สมุดบันทึกที่เต็มไปด้วยความคิดของเธอสินะ ค่ะ มากกว่ากระเป๋าตังค์ชาแนลกับบัตรเครดิต |
All his notebooks, audiotapes, even his hard drive. | สมุดบันทึกทุกเล่มของเขา เทปอัด แม้แต่ฮาร์ดไดรฟ์ |
These journals belong to Dr. Vargas. | สมุดบันทึกนี่น่าจะเป็นของ ดร.วาร์กัส |
My notes. Oh, thank you. I thought I'd lost them. | สมุดบันทึกผม โอ ขอบคุณมาก ผมนึกว่าทำหายไปซะแล้ว |
Gotham City Book Depository. | สมุดบันทึกเหตุการณ์ของเมืองก็อตแทม |
That book was written by a bunch of stupid girls who make up rumors because they're bored with their own lame lives. | สมุดบ้านั่น แค่ถูกใครบางคนแต่งขึ้น เด็กผู้หญิงโง่ๆซักคน ที่สร้างข่าวลือ เพราะพวกหล่อนเบื่อหน่าย กับชีวิตซ้ำซากของพวกหล่อน |
Acting captain's log, star date 2258.42. | สมุดปูมรักษาการกัปตัน วันที่ดวงดาว 22 58.42 |
These notebooks are just conspiracy theory crap. | สมุดพวกนี้ก็แค่ทฤษฏีสมคบคิดไร้สาระ |
Log in pages from day in question have been removed. | สมุดลงชื่อวันที่มีคนมาเยี่ยมหายไป |
The phone book lists five herbalists in Chinatown, three of which sell our ancylostoma hookworm for the treatment of asthma. | สมุดหน้าเหลืองบอกว่า มีร้านสมุนไพรจีนอยู่ห้าแห่ง ในย่านไชน่าทาวน์ มีอยู่สามร้านที่ขาย แอนไซโลสโตรมา หนอนพยาธิปากขอ ใช้สำหรับรักษาโรคหืด |
My checkbook? | สมุดเช็คของฉันงั้นเหรอ |
Uh, my checkbook is in my jacket in the hall. | สมุดเช็คพ่ออยู่ในเสื้อแจ๊กเกตแน่ะ |
This book signing thing he's taking her to... | สมุดเซ็นต์เล่มนี้ เขาพาเธอไปที่... |
A fake notebook! | สมุดเดธโน๊ตมันเป็นของปลอม |
It's Swan, this is so hard to find! | สมุดเพลงหงษ์น่ะ หายากนะ |
This book is just like my son's book. | สมุดเล่มนี้เหมือนกับ สมุดของลูกชายฉัน |
Jealous's Death Note was given to Misa. | สมุดโน้ตของJealousจึงถูกมอบให้กับมิสะ |
That Death Note is mine... | สมุดโน้ตนั่นเป็นของชั้นนี่ |
The Death Note has the power of the Shinigami. | สมุดโน้ตมีพลังของเจ้าแห่งความตาย |
I beg pardon, madam. I'm afraid the fire is not usually lit in the library until the afternoon. | ขออภัยด้วยครับ เเต่ปกติห้องสมุด จะไม่จุดไฟจนกว่าจะช่วงบ่าย |
Robert found these sketches in the library, madam. | โรเบิร์ตเจอภาพวาดพวกนี้ที่ห้องสมุดค่ะ |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
ノート | [のーと, no-to] Thai: สมุดบันทึก บันทึก English: notebook |