English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
โปรแกรม | (n.) program See also: instruction Syn. รายการ |
โปรแกรม | (n.) program See also: instruction Syn. ชุดคำสั่ง |
โปรแกรมการประมวลผล | (n.) processing program |
โปรแกรมควบคุม | (n.) control program |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | (n.) computer program |
โปรแกรมตรวจหาไวรัส | (n.) virus scan program See also: virus checking program |
โปรแกรมภาษาเครื่อง | (n.) object program See also: target program |
โปรแกรมย่อย | (n.) function sub-program See also: sub-program, subprogram |
โปรแกรมหลัก | (n.) main program |
โปรแกรมเมอร์ | (n.) programmer Syn. นักเขียนโปรแกรม |
โปรแกรมใช้งาน | (n.) application program |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
accessories | โปรแกรมประกอบหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่โปรแกรมระบบเตรียมให้มาไว้ใช้เป็นโปรแกรมประกอบ หรือโปรแกรมที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เช่น โปรแกรมประกอบของโปรแกรม ระบบวินโดว์ 95 หรือ 98 จะมีโปรแกรม NotePad, Paint, WordPad , Multimedia, Calculator เป็นต้น |
add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) |
adobe pagemaker | โปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker |
adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) |
ami pro | โปรแกรมอามิโพร เป็นชื่อโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมหนึ่ง ไม่สู้เป็นที่นิยมนัก |
application program | โปรแกรมประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
bundled software | โปรแกรมโหลหมายถึง ซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมที่ร้านขายคอมพิวเตอร์ มักจะให้มา เมื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะเป็นเป็นโปรแกรมที่จำเป็นต้องใช้ เช่น โปรแกรมระบบดอสและวินโดว์แล้ว |
child process | โปรแกรมลูกหมายถึง การที่กำหนดให้โปรแกรมที่กำลังใช้อยู่สามารถ เรียกโปรแกรมอื่นมาทำงานได้ เช่น ในขณะที่กำลังใช้โปรแกรมประมวลผลคำพิมพ์เอกสารอยู่ เราสามารถสั่งให้โปรแกรมประมวลผลคำนั้นไปเรียกโปรแกรมตรวจเช็คตัวสะกดมาทำงานได้ โปรแกรม ประมวลผลคำนั้นจะเรียกว่าโปรแกรมแม่ (parent program) และโปรแกรมตรวจเช็คตัวสะกดเรียกว่าโปรแกรมลูก |
debugger | โปรแกรมตรวจสอบจุดบกพร่องหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้แก้ไขโปรแกรมโดยเฉพาะ |
font/da mover | โปรแกรมเพิ่ม/ลดแบบอักษรเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรม หนึ่ง มีเฉพาะในเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ใช้เมื่อ ต้องการ นำแบบอักษรต่าง ๆ เข้าไปเก็บในฮาร์ดดิสก์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเมื่อต้องการคัดลอกลงไปเก็บ ในจานบันทึก |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
niruth | โปรแกรมเมอร์ผู้สร้าง ชุดโปรแกรม DDP 1.0 ,DDP 2.0 graphic designed by Attapong [game programer] |
access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ |
client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) |
antivirus | ป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ |
appleshare | (แอปเปิลแชร์) หมายถึง โปรแกรมระบบปฏิบัติการที่จะใช้ในข่ายงาน (network) ที่บริษัทแอปเปิลสร้างขึ้นสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (ดู networks ประกอบ) |
device driver | โปรแกรมขับอุปกรณ์หมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้เป็นข้อกำหนดในการใช้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ เพื่อให้สามารถสั่งให้ทำงานด้วยคำสั่งที่ผ่านทางคอมพิวเตอร์ ได้ เช่น หากจะใช้เครื่องพิมพ์ยี่ห้ออะไรก็จะต้องติดตั้ง "driver" สำหรับเครื่องพิมพ์ยี่ห้อนั้นด้วย |
executive program | โปรแกรมกระทำการหมายถึง โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล หรือควบคุมการกระทำการ (execution) ของคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ดูแลการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล (input/output unit) การดำเนินการและกำหนดการใช้หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (memory unit) ให้ทำงานให้สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบทำงานแบบหลายชุดคำสั่ง หรือระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ชุดคำสั่งชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหน้าที่หลักในการดูแลไม่ให้การประมวลผล โปรแกรมทีละหลาย ๆ โปรแกรม เกิดความสับสนกัน มีความหมายเหมือน supervisor |
in line program | โปรแกรมแทรกชุดคำสั่งแทรกหมายถึง ชุดคำสั่งส่วนหนึ่งที่เขียนแทรกไว้ในโปรแกรม ใช้ชื่อที่กำหนดขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อสะดวกในการเรียกใช้ คำสั่งกลุ่มนี้ โดยปกติ จะประกอบด้วยคำสั่งหลายคำสั่ง ที่ผู้ทำโปรแกรมนำมารวมไว้ ชุดคำสั่งแทรกนี้จะต้องกำหนดชื่อคำสั่งไว้ตอนต้นโปรแกรม เมื่อใดก็ตาม ที่มีการเรียกชื่อคำสั่งที่กำหนดนี้ ก็จะเท่ากับเป็นการเรียกใช้กลุ่มคำสั่งที่ประกอบด้วยคำสั่งนี้ทั้งชุด ชุดคำสั่งแทรกนี้ เราสามารถเรียกใช้ได้ตลอดเวลาที่เรียกใช็โปรแกรมนี้อยู่ หรือทุกแห่งที่ต้องการใช้คำสั่งกลุ่มนั้นมีความหมายเหมือน macro instruction, macro program |
main program | โปรแกรมหลักในการเขียนโปรแกรม หากมีบางส่วนของโปรแกรมที่มักจะต้องเขียนซ้ำกันบ่อย ๆ อาจจะใช้วิธีเขียนส่วนที่ซ้ำนี้แยกออกเป็นอีกโปรแกรมหนึ่งต่างหาก เรียกว่าโปรแกรมย่อย (subprogram) ส่วนโปรแกรมเดิมเรียกว่าเป็นโปรแกรมหลัก ในโปรแกรมหลักนี้ จะมีคำสั่งเรียกโปรแกรมย่อยมาใช้เมื่อใดก็ได้ บ่อยเท่าใดก็ได้ เป็นการช่วยประหยัดเวลาในการเขียนซ้ำ |
object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ |
application | (แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร,ความเกี่ยวข้อง,ความมีประโยชน์,การใช้, การร้องขอ,คำร้องขอ,ใบสมัคร,ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration,utility, request |
application software | ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program |
application window | วินโดว์โปรแกรม หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) |
packaged program | โปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ |
printer driver | โปรแกรมขับเครื่องพิมพ์หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นล่ามแปลความระหว่างระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือโปรแกรมการใช้งาน กับแบบหรือชนิดของเครื่องพิมพ์ที่คอมพิวเตอร์จะสั่งให้พิมพ์ ระบบปฏิบัติการบางระบบจะมีซอฟต์แวร์ส่วนนี้ไว้ให้ในตัว แต่ถ้าเป็นระบบดอส แต่ละโปรแกรมต้องติดตั้ง (install) ซอฟต์แวร์ส่วนนี้เอง (ขึ้นอยู่กับว่า จะใช้เครื่องพิมพ์ยี่ห้ออะไร) |
screen saver | โปรแกรมรักษาจอภาพหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่จัดให้จอภาพมีภาพที่เคลื่อนไหวได้มาแทนงานที่กำลังทำ ทั้งนี้เพราะการปล่อยให้จอภาพแสดงภาพใดภาพหนึ่งนานเกินไป จอจะมีรอยไหม้ (burn in) รอยนี้จะติดอยู่ตลอดไป ลบออกไม่ได้ บางทีอาจทำให้จอมืดไปเลยก็ได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อขยับเมาส์ หรือแตะที่แป้นพิมพ์แป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อความหรือภาพบนจอที่เคลื่อนไหวอยู่ ก็จะหายไป และกลับเป็นเหมือนเดิม ในระบบวินโดว์ คำสั่งกำหนดเรื่อง screen saver ว่าจะใช้ภาพใด เคลื่อนไหวช้าเร็วเพียงใดจะอยู่ในเรื่องของ " Desktop " (กดที่สัญรูป Control Panel) จะมีภาพจากระบบวินโดว์มาให้เลือกหลายภาพ เมื่อเลือกแล้ว ภาพเหล่านี้จะปรากฏบนจอเองโดยอัตโนมัติ หลังจากที่หยุดใช้เมาส์หรือกดแป้นพิมพ์ประมาณ 2-3 นาที (กำหนดเองได้) |
spell checker | โปรแกรมตรวจตัวสะกดหมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ช่วยในการตรวจสอบตัวสะกดการันต์ของข้อความที่พิมพ์ โดยเทียบกับพจนานุกรม (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ) มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประมวลคำ (word processing) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปมากนอกจากจะทักท้วงถ้าพบตัวที่สะกดผิดแล้ว ยังแสดงคำที่สะกดถูกให้ด้วย |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม,ประชุม,รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect ###A. disperse, separate) แปล (ภาษาแอสเซมบลี) หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
utitity program | โปรแกรมอรรถประโยชน์หมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไว้เพื่อให้เราเพิ่มสมรรถนะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมอรรถประโยชน์ไม่ใช่โปรแกรมใช้งานหรือโปรแกรมที่จะนำมาใช้ผลิตงานใด ๆ ออกมาด้วยตัวเอง เพียงแต่เป็นโปรแกรมที่ทำให้การใช้โปรแกรมอื่นสะดวกขึ้น เดิมเราเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า เป็นเครื่องมือในการทำซอฟต์แวร์ (software tools) เพราะเป็นโปรแกรมที่มีไว้ช่วยนักเขียนโปรแกรมอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ขายกันทั่วไป ที่ได้รับความนิยมมาก ก็มี Norton Utiltities, PC Tools, Stacker เป็นต้น |
word processor | โปรแกรมประมวลคำเครื่องประมวลคำหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ทำให้เราสามารถทำการประมวลผลคำได้ (ดู word processing) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันมีหลายโปรแกรม เช่น WordStar, Word Perfect, Microsoft Word โปรแกรมเหล่านี้ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพราะมีคนใช้มาก โปรแกรมของคนไทยที่คนส่วนมากรู้จัก ก็มีหลายโปรแกรม เช่น ราชวิถีเวิร์ด และซียูไรท์เตอร์ (CU Writer) เป็นต้น |
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า |
backspace key | ปุ่มย้อนถอยหลัง เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
browser | โปรแกรมค้นดู, เบราว์เซอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
debugger | โปรแกรมตรวจแก้จุดบกพร่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
device driver | โปรแกรมขับอุปกรณ์ [มีความหมายเหมือนกับ driver ๒] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
executive program | โปรแกรมกระทำการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
newsreader | โปรแกรมอ่านข่าว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
object program | โปรแกรมจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
package | โปรแกรมสำเร็จ [มีความหมายเหมือนกับ software package] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
plug-in program | โปรแกรมเสริม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
screen saver | โปรแกรมถนอมหน้าจอ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
terminate-and-stay-resident program (TSR program) | โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ (โปรแกรมทีเอสอาร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
TSR program (terminate-and-stay-resident program) | โปรแกรมทีเอสอาร์ (โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
utility program; utility | โปรแกรมอรรถประโยชน์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
web browser | โปรแกรมค้นดูเว็บ, เว็บเบราว์เซอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
access method | ๑. วิธีเข้าถึง๒. โปรแกรมสำหรับเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
API (application program interface) | เอพีไอ (ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
application | ๑. การประยุกต์๒. โปรแกรมประยุกต์๓. ระบบประยุกต์๔. งานประยุกต์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
application program interface (API) | ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (เอพีไอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
code | ๑. รหัส, รหัสคำสั่ง [สัญลักษณ์ที่ใช้แทนข้อมูลหรือคำสั่ง]๒. คำสั่ง, โปรแกรม๓. ลงรหัส๔. เขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
compilation time | เวลาแปลโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
compile | แปลโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
compiler | ๑. ตัวแปลโปรแกรม๒. โปรแกรมแปลโปรแกรม, คอมไพเลอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
controller | ๑. อุปกรณ์ควบคุม, เครื่องควบคุม, ตัวควบคุม๒. โปรแกรมควบคุม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
counter | ๑. ตัวนับ, เครื่องนับ, อุปกรณ์นับ๒. โปรแกรมนับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CPI-C (common programming interface for communications) | ซีพีไอซี (ตัวต่อประสานการโปรแกรมร่วมสำหรับการสื่อสาร) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
driver | ๑. ตัวขับ๒. โปรแกรมขับ(อุปกรณ์) [มีความหมายเหมือนกับ device driver] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dry running | การตรวจสอบ(โปรแกรม)นอกเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
EEPROM (electrically erasable PROM) | อีอีพร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
EPROM (erasable programmable read-only memory) | อีพร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
function | ๑. ฟังก์ชัน๒. โปรแกรมฟังก์ชัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
generator | ๑. ตัวก่อกำเนิด, เครื่องก่อกำเนิด, ตัวสร้าง๒. โปรแกรมก่อกำเนิด๓. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interface | ๑. ต่อประสาน๒. ส่วนต่อประสาน, ตัวต่อประสาน๓. โปรแกรมต่อประสาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interpreter | ๑. โปรแกรมแปลคำสั่ง, อินเทอร์พรีเตอร์๒. ตัวแปลคำสั่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
multiprogramming | การทำงานแบบหลายโปรแกรม, มัลติโปรแกรมมิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
PIC (programmable interrupt controller) | พีไอซี (ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program | ๑. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง๒. สร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program flowchart | ผังงานโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmable read-only memory (PROM) | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ (พร็อม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Audiovisual Program | โปรแกรมโสตทัศนูปกรณ์ [การแพทย์] |
Desktop | โปรแกรมเดสก์ทอปโปรแกรมใดๆ ที่จัดแสดงเนื้อที่บนจอไว้ให้ทำงานเหมือนเนื้อที่บนโต๊ะ [คอมพิวเตอร์] |
Device driver | โปรแกรมขับอุปกรณ์โปรแกรมที่บอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะทำงานกับอุปกรณ์ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์นั้นอย่างไร เช่น โปรแกรมขับเครื่องพิมพ์เป็นตัวบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะสื่อสารกับเครื่องพิมพ์นั้นอย่างไรจึงจะเข้าใจกัน [คอมพิวเตอร์] |
Diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัยโปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์] |
Frequent flyer programs | โปรแกรมสะสมไมล์ [TU Subject Heading] |
INSTALL.BAT | โปรแกรมติดตั้งเพื่อคลายโปรแกรมกลับสู่รูปแบบที่จะนำมาดำเนินการได้ [คอมพิวเตอร์] |
Integrated program | โปรแกรมเบ็ดเสร็จ [คอมพิวเตอร์] |
On screen Keyboard | โปรแกรมแป้นพิมพ์บนจอภาพ, ซอฟต์แวร์ที่มีหน้าตาเหมือนคีย์บอร์ดบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่รับอินพุตข้อมูลผ่านเมาส์ หรืออุปกรณ์อินพุตอื่นๆ [Assistive Technology] |
Printer driver | โปรแกรมขับเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์] |
screen saver | โปรแกรมรักษาจอหลังจากเปิดคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานจนได้ผลลัพธ์ หรือระหว่างใช้งานอยู่ และคอมพิวเตอร์กำลังแสดงข้อความบางอย่างบนจอนั้น ผู้ใช้อาจมีกิจธุระอื่น เช่น รับโทรศัพท์ หรือเดินไปห้องน้ำเป็นเวลานาน การปล่อยให้คอมพิวเตอร์แสดงข้อความขึ้นบนจอเป็นเวลานานๆ จุดภาพบนจอจะเสื่อมเพราะถูกยิงด้วยลำแสงอิเล็กตรอนตลอดเวลา ดังนั้นจึงมีโปรแกรมรักษาจอเอาไว้ใช้งาน โปรกรมรักษาจอนี้จะเปลี่ยนภาพที่ค้างบนจอให้กลายเป็นภาพอื่นที่มีการเคลื่อนไหว เช่น เป็นภาพปลากำลังว่ายน้ำไปมา เมื่อผู้ใช้ต้องการกลับมาทำงานต่อก็เพียงแต่เคาะแป้นใดแป้นหนึ่งเท่านั้น ภาพที่โปรแกรมรักษาหน้าจอแสดงอยู่ก็จะหายไป [คอมพิวเตอร์] |
Web browser | โปรแกรมดูเว็บ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลหรือโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (html) [Assistive Technology] |
Abort | ยกเลิกสั่งเลิกการทำงานของโปรแกรมกลางคัน [คอมพิวเตอร์] |
Active window | วินโดว์ใช้งานในขณะใช้โปรแกรมบางโปรแกรม เราสามารถนำวินโดว์ขึ้นมาแสดงบนจอภาพได้หลายวินโดว์ แต่มีเพียงวินโดว์เดียวเท่านั้นที่เราทำงานด้วยได้และเรียกว่า วินโดว์ใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Algorithm | ขั้นตอนวิธีลำดับการแก้ปัญหาด้วยโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Application | งานประยุกต์โปรแกรมที่ใช้ทำงานที่เราต้องการ งานหรือโปรแกรมประยุกต์ที่มีใ่ช้อยู่ในเวลานี้อาจจะได้มาจากการพัฒนาขึ้นใช้เองภายในหน่วยงาน หรืออาจจะซื้อโปรแกรมที่ผู้อื่นเขาทำเสร็จแล้วมาใช้ก็ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Assembler | ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีโปรแกรมประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
BIOS (Basic Input Output System) | ไบออส, ไบออสทำหน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรมและคำสั่งพื้นฐานที่สำคัญในการเริ่มต้นกระบวนการบูตของเครื่องคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Compiler | ตัวแปลโปรแกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Computer programmers | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
CU WRITER (Computer program) | ซียูไรเตอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Ada | เอดาภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกากำหนดให้ผู้รับเหมาเขียนโปรแกรมและงานประยุกต์ให้กับกระทรวงฯ ชื่อของภาษานี้ตั้งขึ้นตามนามของออกุสตา เอดา ไบรอน (Augusta Ada Byron) ผู้เป็นนักคณิตศาสตร์สตรีชาวอังกฤษ ภาษาเอดามีโครงสร้างพื้นฐานคล้ายกับภาษาปาสกาล แต่มีส่วนประกอบอื่นๆ เพิ่มเติมอีกมากทำให้กลายเป็นภาษาที่ใหญ่ [คอมพิวเตอร์] |
Aspect ratio | อัตรากว้างยาวเป็นคำที่ใช้ในงานคอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของภาพวัตถุเทียบกับความสูง อัตราส่วนนี้มีความสำคัญมาก เพราะจุดภาพที่ปรากฎบนจอภาพนั้นอาจจะมีระยะแนวนอนกับแนวตั้งต่างกัน ถ้าหากไม่คำนวณอัตรานี้ให้ถูกต้องเวลาเราใช้โปรแกรมวาดภาพวงกลม อาจจะได้วงรีแทนก็ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรมแต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Audiobook | หนังสือเสียง หนังสือเสียง คือ สื่อที่บันทึกจากหนังสือแบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่นำมาอ่านและบันทึกเสียงในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผู้พิการทางสายตาหรือผู้ที่บกพร่องด้านการอ่านและผู้ต้องการรับรู้เนื้อหาของหนังสือผ่านทางการฟัง ได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากสื่อสิ่งพิมพ์เพิ่มขึ้น หนังสือเสียงที่คนทั่วไปรู้จัก มักผลิตออกมาในรูปแบบเทปคาสเซ็ทหรือแผ่นซีดี หรือในรูปแบบ MP3 แต่ในปัจจุบัน ได้มีการทดลองผลิตหนังสือเสียงรูปแบบใหม่สำหรับคนตาบอด เรียกว่า หนังสือเสียงระบบเดซี (DAISY-Digital Accessible Information System) ซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนหนังสือ แต่อยู่ในรูปแบบของแผ่นซีดี ผู้ฟังสามารถเปิดฟังหน้าใดส่วนใดก็ได้ตามที่ต้องการเหมือนอ่านหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ปกติ หนังสือเสียงในระบบนี้จะสามารถใส่ดรรชนีไว้ในเนื้อหาส่วนต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมและความจำเป็นในการใช้งาน ซึ่งจะทำให้ผู้ฟังสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นชนิดพิเศษค้นหาเนื้อหาส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยำ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในแต่ละบท หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ย่อหน้า บรรทัด หรือแม้แต่ถ้อยคำ |
Dedicated | เ้ฉพาะงานโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่ใช้เฉพาะวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง [คอมพิวเตอร์] |
Demo | สาธิตเป็นคำที่กร่อนมาจากคำว่า Demonstration หมายถึง การสาธิตการทำงาน หรือการใช้งานของเครื่อง หรือโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Diaglog box | กรอบสนทนากรอบที่ปรากฎขึ้นเมื่อเราสั่งให้โปรแกรมบางโปรแกรมทำงานบางอย่าง [คอมพิวเตอร์] |
Disk | จาน, จานแม่เหล็กสื่อบันทึกทำด้วยจานโลหะ ใช้สำหรับบันทึกข้อมูลและโปรแกรม จานแม่เหล็กอาจแบ่งได้เป็นหลายประเภท อาทิ diskette หรือ floppy disk และ hard disk [คอมพิวเตอร์] |
Documentation | เอกสารกำกับโปรแกรมเอกสารอธิบายรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ [คอมพิวเตอร์] |
Completely Automated Public Turing Computer and Humans Apart | การทดสอบด้วยวิธีอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าการป้อนข้อมูลกระทำโดยมนุษย์หรือเครื่องจักร กลไกที่เจ้าของเว็บไซต์ใช้ป้องกันการนำเข้าข้อมูลขยะจำนวนมาก โดยผู้ซึ่งโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นทำการป้อนข้อมูลเสมือนเป็นมนุษย์ วิธีการที่มักใช้ในการทดสอบคือการให้ผู้ป้อนข้อมูลดูภาพหรือฟังเสียงอ่าน และป้อนคำตอบที่เห็นหรือได้ยิน เพื่อยืนยันความเป็นมนุษย์ CAPTCHA มักนำไปใช้ในการตรวจสอบข้อคิดเห็นต่างๆ ในเว็บบอร์ด หรือในบลอก (blog) หรือการสมัครขอใช้บริการออนไลน์ต่างๆ [Assistive Technology] |
DOS device driver (Computer programs) | ดอส ดีไวซ์ ไดรเวอร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Dynamic RAM (DRAM) | ไดนามิกแรม หรือดีแรม, หน่วยความจำที่ใช้ในการจดจำข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Field | เขตข้อมูลเขตข้อมูล (field) คือ พื้นที่ที่กันไว้สำหรับเก็บข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยรองลงมาจากระเบียน เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละระเบียน เช่น เขตข้อมูลปีที่พิมพ์จะเป็นส่วนที่บอกได้ว่าระเบียนที่ค้นคืนได้ หรือที่แสดงผลอยู่นั้นจัดพิมพ์ในปีใด หรือเขตข้อมูลชื่อเรื่องช่วยจำกัดผลการค้นให้ตรงกับความต้องการมากขึ้น |
FORTRAN | ภาษาฟอร์แทรนภาษาเีขียนโปรแกรมที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งพัฒนาโดย จิม แบคคัส แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ในช่วงปี 2497 - 2501 [คอมพิวเตอร์] |
FoxBase (Computer program) | ฟอกซ์เบส (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
graphical user interface | ส่วนประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ลักษณะการแสดงคำสั่ง โปรแกรม หรือสิ่งอื่ีนๆ เป็นภาพกราฟิก (เรียกว่า icon หรือ สัญรูป) บนจอภาพ [คอมพิวเตอร์] |
Heuristic programming | การโปรแกรมฮิวริสติก [TU Subject Heading] |
Linear programming | การโปรแกรมเชิงเส้น [คอมพิวเตอร์] |
LOTUS 1-2-3 (Computer program) | โลตัส 1-2-3 (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
memory unit | หน่วยความจำ, หน่วยที่ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์กำลังประมวลผล และเป็นที่พักข้อมูลระหว่างที่ซีพียูกำลังประมวลผลข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
editor | (n.) โปรแกรมการจัดการข้อมูล (ของคอมพิวเตอร์) |
wallet | (n.) โปรแกรมการซื้อขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (ทางคอมพิวเตอร์) |
workfare | (n.) โปรแกรมการทำงานหรือฝึกอบรมที่รัฐจัดให้คนว่างงาน See also: เพื่อตอบแทนที่รัฐบาลให้เงินสวัสดิการ |
tutorial | (n.) โปรแกรมการสอนในคอมพิวเตอร์ |
application | (n.) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
multi-tasking | (n.) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลากหลายในเวลาเดียวกัน |
multitasking | (n.) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลากหลายในเวลาเดียวกัน Syn. multi-tasking |
browser | (n.) โปรแกรมที่ช่วยค้นหาหรืออ่านเอกสารบนอินเตอร์เนต |
Web Browser | (n.) โปรแกรมสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เนตหรือเวิลด์ไวด์เว็บ See also: เว็บเบราเซอร์ |
translator | (n.) โปรแกรมแปลภาษา |
app | (sl.) โปรแกรมใช้งาน See also: ซอฟแวร์ |
application program | (n.) โปรแกรมใช้งาน |
batch processing | (n.) การประมวลผลอย่างต่อเนื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Syn. data processing |
code | (vt.) เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
exit | (vt.) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Syn. terminate |
exit | (vi.) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Syn. terminate |
hack | (vi.) เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย |
LAN | (abbr.) โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ เช่น ในอาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านาจะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมหรือข้อมูลจากกันและกันได้ แต่การทำเช่นนี้จะต้องใช้ซอฟแวร์ช่วยด้วย (คำย่อของ local area network) |
library | (n.) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ |
load | (vt.) ถ่ายข้อมูลหรือโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
And I start pitching him the nine steps. | ผมเริ่มเร่ขายมัน โปรแกรม 9 ขั้น |
This is a surgical program. | ที่นี่คือ โปรแกรม ผ่าตัด |
I was accepted to the honors program, Daddy. | ฉัน ได้รับการยอมรับ ในการใช้ โปรแกรม เกียรตินิยม พ่อ |
"the program"... Is what you called it. | " เดอะ โปรแกรม " ใช่ที่คุณเรียกมั้ย |
I tried to access the program, but there was no way to update it. | ฉันได้ลองเชื่อมต่อดูแล้ว โปรแกรม มันไม่สามารถอัพเดทได้ |
Interrupt the subprogram, introduce the disruption factor... | ขัดจังหวะ โปรแกรม และ ใช้โปรแกรม ฟังซ์ชั่น |
Gets to test out his software and take out the woman standing in the way of his advancement. | ได้ทดสอบ โปรแกรม และ เขี่ย ผู้หญิงคนนั้นออกไป และได้ตำแหน่งที่ ได้ความก้าวหน้า มาด้วย |
Now you work for a top-secret program called clockwork. | ตอนนี้ คุณทำงานให้กับ โปรแกรม ลับสุดยอดที่เรียกว่า คล็อกเวิร์ค |
A 12-step program usually doesn't traumatize the participant. | โปรแกรม 12 ขั้นตอน ปกติแล้วจะไม่ทำให้ผู้เข้าร่วมบาดเจ็บ |
Easy money and will happen to saves lifes | โปรแกรม Easy เงินและจะเกิดขึ้นเพื่อประหยัด lifes |
But the program saved my life, joe. | โปรแกรม ช่วยชีวิตฉันไว้โจ |
The program that tried to kill you? | โปรแกรม ที่พยายามจะฆ่าคุณอย่างนั้นหรือ? |
The software- the software is on the tiger's collar. | โปรแกรม โปรแกรมอยู่ที่ปลอกคอเจ้าเสือนั่นน่ะ |
I'll announce the category two days in advance of each competition day in front of all of you. | โปรแกรมการแข่งกัน จะประกาศก่อนล่วงหน้า 2วัน ตรงหน้าของพวกคุณทั้งหมด |
Uh, the musical theater program at NYU. | โปรแกรมการแสดงละครเพลง ที่เอ็นวายยู |
The Kilpatrick sports program is three-pronged. | โปรแกรมกีฬาของคิลแพทริคมี 3 ส่วน |
Mate, your algorithms reinvented | โปรแกรมของคุณ ได้พลิกโฉมหน้า |
Mr. Namikiri's programming really is brilliant. | โปรแกรมของคุณนามิคิรินี่เจ๋งไปเลยนะครับ |
Your program finally worked. | โปรแกรมของคุณในที่สุดก็ได้ผล |
My programming will not allow me to harm an employee of the Umbrella Corporation. | โปรแกรมของฉัน จะไม่อนุญาตให้ฉันทำร้าย... พนักงานของอัมเบรลล่า คอร์ปอเรชั่น |
My programing prevents me from injuring a human being. | โปรแกรมของผม กำหนดไม่ให้ทำร้ายมนุษย์ |
My program for that scenario was very specific. | โปรแกรมของผมสำหรับเหตุการณ์ดังกล่าว มันระบุได้ชัดเจนมาก |
Our programing prevents us from injuring a human being. | โปรแกรมของเรากำหนดให้ ไม่ให้ทำร้ายร่างกายมุนษย์ |
The Clockwork program's always been vulnerable. | โปรแกรมคล็อกเวิร์ค มีความเสี่ยงมาโดยตลอด |
Your memory program is going alive. | โปรแกรมความจำของคุณเปิดใช้งานแล้ว |
My computer program? | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ของผมใช่มั้ย |
A computer program called skynet | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชื่อ สกายเน็ต |
How did some damn computer program spot a traitor when federal agents couldn't? | โปรแกรมคอมพิวเตอร์บ้าๆตัวหนึ่ง ชี้ตัวคนขายชาติ ได้ยังไงในเมื่อเจ้าหน้าที่หน่วยสืบราชการลับ ทำไม่ได้ |
Computer program? | โปรแกรมคอมพิวเตอร์รึ |
Sophisticated computer Program. | โปรแกรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ |
Some dusty old computer program. | โปรแกรมคอมพิวเตอร์เก่า ที่ผุ่นจับ |
A computer program can't duplicate a skilled human lip reader. | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่มีความสามารถ ในการอ่านปากมนุษย์ได้หรอก |
Tonight's program has changed. | โปรแกรมคืนนี้มีการเปลี่ยนแปลง |
There's something wrong With your frequency-recognition program. | โปรแกรมจดจำคลื่นความถี่ของนาย น่าจะผิดพลาด |
Angela's program recognized this as the o area of the apartment that was the most cared or. | โปรแกรมจดจำภาพ ของแองเจิลล่า บอกว่า ณ จุดนี้ของห้องชุด คือพื้นที่ที่โดน เอาใจใส่มากที่สุด |
Facial recognition solves for a match Toretto | โปรแกรมจดจำใบหน้า ตรวจเจอ โทเร็ตโต้ |
Going through the program changes you. | โปรแกรมจะเปลี่ยนแปลงตัวเธอ |
The program will be begin in three minutes. | โปรแกรมจะเริ่มทำงาน ในอีก 3 นาที |
We just got these results from our simulation model. | โปรแกรมจำลองสภาพอากาศ |
Emergency programming. I'll handle him. | โปรแกรมฉุกเฉิน ฉันจะรับมือเอง |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
計画 | [けいかく, keikaku] Thai: โปรแกรม English: program |
プログラム | [ぷろぐらむ, puroguramu] Thai: โปรแกรม(คอมพิวเตอร์) |