English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
ทำงาน | (v.) work See also: do a job, do a task Syn. ดำเนินการ, ดำเนินกิจการ, ปฏิบัติการ |
ทำงานต่อ | (v.) continue working See also: go on working |
ทำงานทำการ | (v.) work See also: do work Syn. ปฏิบัติงาน, ดำเนินงาน, ปฏิบัติการ, ปฏิบัติหน้าที่ |
ทำงานบ้าน | (v.) do housework See also: do household chores |
ทำงานมาก | (v.) work hard See also: work strenuously Ops. ทำงานน้อย |
ทำงานหนัก | (v.) work hard See also: work strenuously Syn. ทำงานมาก Ops. ทำงานน้อย |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
accelerator board | แผ่นวงจรเร่งความเร็วหมายถึงแผ่นวงจรพิเศษ ที่เมื่อนำมาเสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว จะมีผลทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น แผ่นวงจรประเภทนี้จะมีตัวประมวลผล (processor) ที่ทำงานเร็วกว่าตัวประมวลผลเดิม |
advanced technology | เทคโนโลยีก้าวหน้าใช้ตัวย่อว่า AT หมายถึงคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่นหนึ่งที่ใช้บัสชนิด 16 บิต แทนแผ่นวงจร 8 บิตที่ใช้ก่อนหน้านั้น ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว |
aeropause | (แอ' โรพอส) n. บริเวณบรรยากาศของโลกที่เบาบางเกินไปที่เครื่องบินจะทำงานได้ |
ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
alt key | แป้นสลับเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ ALT (ย่อมาจาก alternate) อยู่บนแป้น แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล |
alternate key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ (มีคำ ALT อยู่บนแป้น) แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล |
apple desktop bus | ตัวนำข้อมูลเข้า ใช้ตัวย่อว่า ADB หมายถึง ตัวประสาน (interface) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานของแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) แทร็กบอลล์ (trackball) ฯ และอุปกรณ์ป้อนข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถนำข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ (เฉพาะแมคอินทอช) |
artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
assistantship | (อะซิส'เทินทฺชิพ) n. ทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาเพื่อช่วยศาสตราจารย์ ทำงาน |
at 1 | (แอท) prep. ที่,บน,ใกล้, ณ,เมื่อ,ไปยัง,พอ,กำลัง (ทำงาน,เล่น) ,ในภาวะ,ยุ่งอยู่กับ,ด้วย (แสดงความเร็ว) |
ataxia | (อะแทค'เซีย, -ซี) n. ภาวะกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน (โดยเฉพาะกล้ามเนื้อแขนขา) . -ataxic adj. เดินโซเซ |
api | (เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้ |
apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ |
apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น |
atelier | (แอท'เทลเย) n.,Fr. ห้องศิลป, ห้องทำงานด้านศิลป (workshop, studio) |
automated office | สำนักงานอัตโนมัติหมายถึงสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน เช่น การเก็บข้อมูล การพิมพ์เอกสาร ฯ บางทีใช้ office automation |
autonomic nervous system | ระบบประสาทส่วนกลางที่เกี่ยวกับการทำงานเอง ของอวัยวะในร่างกาย |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น |
batch file | แฟ้มคำสั่งรวมหมายถึง แฟ้มพิเศษที่ใช้เก็บคำสั่งระบบที่ต้องการใช้ เพื่อสั่งให้เครื่องทำงานให้ ถ้ามีแฟ้มข้อมูลนี้เก็บไว้ คอมพิวเตอร์จะปฏิบัติการตามขั้นตอนในคำสั่งที่บรรจุอยู่ในแฟ้มนี้ทันทีที่เริ่มเครื่องใหม่ (boot) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file tpe) ว่า .bat เช่น autoexec.bat เป็นต้น |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ |
beachball pointer | ลูกบอลล์ชายหาด หมายถึง สัญลักษณ์ที่ปรากฏบนจอภาพของเครื่องแมคอินทอช ที่จะทำให้ผู้ใช้รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ทั้ง ๆ ที่เรามองไม่เห็นการทำงานใด ๆ เลย ที่เรียกว่า ลูกบอลล์ชายหาด ก็คงเพราะว่า รูปร่างหน้าตาของสัญลักษณ์นี้มีรูปลักษณะอย่างนั้นจริง ๆ กล่าวคือเป็นรูปลูกบอลล์ |
benchmark | การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน |
big iron | ท่อนเหล็ก เป็นคำสะแลงที่ใช้เรียกคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) รุ่นเก่า ที่มีราคาเป็นเรือนล้าน ขนาดใหญ่คับห้อง แต่ทำงานได้เท่ากับไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ราคาเพียงไม่กี่หมื่นบาท |
billisecond | ใช้ตัวย่อว่า BS เป็นหน่วยวัดความเร็วในการทำงานหรือการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ |
black box | กล่องดำหมายถึง แผงวงจรหรืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งแยกออกมาต่างหาก โดยปกติผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเข้าใจว่า วงจรนั้นทำงานอย่างไร เป็นต้นว่า การถอดรหัสสัญญาณ |
boiler suit | n. ชุดทำงานที่มีเสื้อกางเกงติดกัน |
boot sector | ส่วนวงปลุกเครื่องหมายถึง ส่วนของแผ่นจานบันทึกที่เก็บคำสั่งที่ใช้ในการปลุกเครื่อง ถ้าส่วนนี้เสีย (อ่านไม่ได้) คอมพิวเตอร์ก็จะไม่ทำงานเลยตั้งแต่ต้น |
branch instruction | คำสั่งแยก (ทาง) หมายถึง การสั่งให้แยกไปทำงาน ณ จุดใดจุดหนึ่งตามคำสั่งในโปรแกรมหรือ ชุดคำสั่ง เช่น คำสั่ง GOTO หรือคำสั่งให้ CALL โปรแกรมย่อย (subroutine) |
bios | (ไบออส) ย่อมาจาก Basic Input/Output System เป็นชื่อโปรแกรมชุดหนึ่งซึ่ง จะควบคมการทำงานของคอมพิวเตอร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลเข้าไปเก็บและการแสดงผล (หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ จอภาพฯ) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บไบออสนี้ไว้ในชิปตัวหนึ่งที่สร้างมาให้อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (built in) หรือที่เรียกว่า "รอม" (ROM) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะอ่านคำสั่งในไบออสก่อนเสมอ |
board | (บอร์ดฺ) {boarded,boarding,boards} n. ไม้กระดาน,แผ่นกระดาน,แผ่นกระดาษแข็ง,กระดานหมากรุก,ข้างเรือ,ค่าอาหาร,อาหาร,ที่พัก,โต๊ะประชุม,โต๊ะอาหาร,เวที,คณะกรรมการ,สภา,กลุ่มผู้บริหารของหน่วยงาน,แป้นสวิตช์ไฟฟ้าบนผลฝาผนัง,ขอบ,ข้าง vt. ใช้กระดานปู,บริการอาหาร,บริการ แผงวงจรแผงหมายถึง แผ่นพลาสติกที่มีการติดตั้งวงจรไฟฟ้าซึ่งใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แผงเหล่านี้จะทำหน้าที่ต่าง ๆ เช่น แผงวงจรเร่งความเร็ว (accelerator board) จะมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็วกว่าตัวประมวลผลทีมีอยู่เดิม แผงวงจรภาพ (video board) แผงวงจรเสียง (sound board) ก็จะเป็นตัวเพิ่มภาพและเสียง เป็นต้น |
boot | (บูท) {booted,booting,boots} n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า,รองเท้าบู๊ท,เครื่องหุ้มคล้ายปลอก,ฝาครอบป้องกัน,ปลอกหุ้มเบาะ,โครงรถ,เครื่องรัดทรมานข้อเท้า,การเตะ,การถีบ,การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท,เตะ,ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot" |
breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว,การล้มเจ็บ,การไม่สบาย,การสลายตัว,การวิเคราะห์,การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง |
breathing space | n. โอกาสพัก,โอกาสคิด,ที่ ๆ พอจะเดินทางหรือ ทำงานได้เพียงพอ |
brain damaged | ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้ |
branch | (เบรานชฺ) {branched,branching,branches} n. กิ่งก้าน,กิ่ง,สาขา,แขนง,วิชาย่อย,ทางแยก,สายย่อย,แคว vt. แตกกิ่งก้านสาขา,, Syn. bough แยกแตกกิ่ง1. หมายถึง การแยกตัวออกไปจากโปรแกรมที่ทำอยู่ ไปทำโปรแกรมอีกอันหนึ่ง เช่น แยกออกจากโปรแกรมหลัก (main program) ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย (subprogram) ตามคำสั่ง Go to2. ความหมายที่ใช้กับ "ต้นไม้" (tree) มีความหมายถึงการแตกกิ่งก้านสาขา เช่นในการแสดงแฟ้มข้อมูลในโปรแกรม Windows Explorer ของ Windows 95 |
break | (เบรค) (broke,broken,breaking,breaks) vt.,vi. ทำให้แตก,ทำให้บาดเจ็บ,แบ่งออกเป็นส่วน,เปิดเผย,ทำให้เชื่อง,เอาชนะ,ทำลายสถิติ,แหก (คุก) ,ฝ่าฝืน,ตัดขาด,ฝึก,สลัด, (โรงเรียน) หยุด, (สงคราม) เกิดขึ้น,ละเลยหน้าที่,ระเบิด,หนี,หยุดพักทำงาน n. การแตกออก,การหยุดพัก,ตอนฟ้าสว่าง หยุดหมายถึง การสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานอย่างกระทันหัน เราอาจใช้วิธีกดแป้น Break หรือกดแป้น CTRL + C ก็ได้ |
English-Thai: Nontri Dictionary | |
---|---|
bureau | (n) ที่ทำการ,โต๊ะทำงาน,โต๊ะเขียนหนังสือ |
charlady | (n) หญิงทำงานบ้าน,หญิงรับใช้ |
desk | (n) โต๊ะ,โต๊ะทำงาน,กองบรรณาธิการ,แท่นอ่านคัมภีร์,ฝ่าย,แผนก |
drudge | (n) คนทำงานหนัก,คนที่ทำงานจำเจ |
JACK-OF-ALL-jack-of-all-trades | (n) คนทำงานได้หลายอย่าง,คนที่ทำงานคล่องแคล่ว |
inoperative | (adj) ไม่เป็นผล,ไม่มีผลบังคับ,ไม่ทำงาน,ไม่ได้กระทำ |
jobber | (n) พ่อค้าขายส่ง,ผู้ขายหุ้น,ผู้ทำงานเหมา |
labor | (n) งาน,กรรมกร,ผู้ใช้แรงงาน,การตรากตรำทำงาน,แรงงาน |
labour | (n) งาน,กรรมกร,ผู้ใช้แรงงาน,การตรากตรำทำงาน,แรงงาน |
landsman | (n) คนที่อยู่หรือทำงานบนบก |
moonlight | (n) แสงจันทร์,การหาลำไพ่,การทำงานกลางคืน,การเที่ยวกลางคืน |
operation | (n) การปฏิบัติการ,ยุทธการ,การเคลื่อนไหวทางทหาร,การทำงาน,การผ่าตัด |
studio | (n) ห้องทำงาน,ห้องศิลปะ,สถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์ |
teamwork | (n) การทำงานเป็นพวก,การทำงานเป็นทีม,การกระทำร่วมกัน |
viable | (adj) สามารถมีชีวิตอยู่ได้,ปฏิบัติได้,ทำงานได้ |
work | (n) การงาน,การทำงาน,งานฝีมือ,ผลงาน |
workable | (adj) สามารถทำงานได้,ใช้การได้,ซึ่งทำให้สำเร็จได้ |
working | (adj) ซึ่งทำงาน,ซึ่งใช้การได้,ซึ่งได้ผล,เกี่ยวกับการทำงาน |
workroom | (n) ห้องทำงาน |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
action | ๑. การกระทำ, การปฏิบัติ, การทำงาน๒. กิริยา๓. การแสดงฤทธิ์ (ยา) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
autonomous | -ทำงานโดยอิสระ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bias | ๑. ตั้งจุดทำงาน๒. การตั้งจุดทำงาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
camera | ห้องทำงานของผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cerebration | การทำงานของสมองใหญ่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
clerical worker | คนทำงานธุรการ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
cycling | การทำงานเป็นรอบ [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earned income | รายได้จากการทำงาน, รายได้จากการประกอบการงาน [ดู earnings] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earnings | รายได้จากการทำงาน, รายได้จากการประกอบการงาน [ดู earned income] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
economically active population | ประชากรที่ทำงานทางเศรษฐกิจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
emolument | ค่าตอบแทนในการทำงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
field worker; fieldworker | คนทำงานภาคสนาม, ผู้ปฏิบัติงานภาคสนาม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
fieldworker; field worker | คนทำงานภาคสนาม, ผู้ปฏิบัติงานภาคสนาม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
FIRST (Forum of Incident Response and Security Teams) | เฟิสต์ (คณะทำงานตอบสนองอุบัติการณ์และรักษาความมั่นคง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
hard labour | โทษให้ทำงานหนัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
journey to work | การเดินทางไปทำงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
menu-driven system | ระบบทำงานด้วยรายการเลือก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
multiprogramming | การทำงานแบบหลายโปรแกรม, มัลติโปรแกรมมิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
office worker | คนทำงานสำนักงาน [ดู white collar worker] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
penal servitude | โทษทางอาญาให้ทำงานหนัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peonage | การบังคับให้ทำงานโยธาแทนค่าปรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
picketing | ๑. การถือป้ายประท้วง๒. การขัดขวางไม่ให้เข้าทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pipeline | การทำงานแบบสายท่อ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
platoon system | ระบบแบ่งกะการทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sinecure | ตำแหน่งที่ไม่ต้องทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
skilled worker | คนทำงานใช้ฝีมือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
task force | ๑. คณะทำงานเฉพาะกิจ๒. กำลังรบเฉพาะกิจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unskilled worker | คนทำงานไม่ใช้ฝีมือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
vegetative | ๑. -เติบโตคล้ายผัก๒. -ทำงานนอกบังคับจิตใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
workdays lost | วันทำงานที่สูญเสีย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
workhouse | สถานกักกัน, เรือนทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
working bite relation; working occlusion | การสบ(ฟัน)ทำงาน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
working day | วันทำการ, วันทำงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Intact | ทำงานได้ปกติ [การแพทย์] |
Abort | ยกเลิกสั่งเลิกการทำงานของโปรแกรมกลางคัน [คอมพิวเตอร์] |
Accomplishment | การทำงานให้สำเร็จ [การแพทย์] |
Action | การกระทำ, การออกฤทธิ์, พฤติการณ์, ลงมือทดลองปฏิบัติ, การเคลื่อนไหว, การทำงาน [การแพทย์] |
Active | ว่องไว, ทำงานมาก, โรคในระยะติดต่อ, มีบทบาทเป็นผู้ชาย, ทำงาน, กำลังดำเนินอยู่ [การแพทย์] |
Active window | วินโดว์ใช้งานในขณะใช้โปรแกรมบางโปรแกรม เราสามารถนำวินโดว์ขึ้นมาแสดงบนจอภาพได้หลายวินโดว์ แต่มีเพียงวินโดว์เดียวเท่านั้นที่เราทำงานด้วยได้และเรียกว่า วินโดว์ใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Adjuvant Activity | ส่งเสริมการทำงานของระบบ [การแพทย์] |
After Action Review | การทบทวนหลังทำงาน หรือหลังปฏิบัติ [การจัดการความรู้] |
Analog computer | แอนะล็อกคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่ทำงานด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันขนาดต่างๆ [คอมพิวเตอร์] |
Antagonistic | แอนตาโกนิสติก, ทำงานค้านกัน, ออกฤทธิ์ต้านกัน [การแพทย์] |
Anticipated operational occurrence | อุบัติการณ์ที่อยู่ในความคาดหมาย, เหตุการณ์ที่เบี่ยงเบนไปจากการทำงานตามปกติของโรงงานนิวเคลียร์ ซึ่งคาดว่าตลอดอายุการใช้งานจะเกิดขึ้นได้อย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่ได้มีการออกแบบรองรับเหตุการณ์นี้ไว้แล้วเพื่อความปลอดภัย และป้องกันมิให้ลุกลามเป็นอุบัติเหตุ เช่น หากพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่เครื่องสูบน้ำของระบบระบายความร้อนเกิดขัดข้อง ระบบไฟฟ้าสำรองก็จะทำงานทันที |
Application | งานประยุกต์โปรแกรมที่ใช้ทำงานที่เราต้องการ งานหรือโปรแกรมประยุกต์ที่มีใ่ช้อยู่ในเวลานี้อาจจะได้มาจากการพัฒนาขึ้นใช้เองภายในหน่วยงาน หรืออาจจะซื้อโปรแกรมที่ผู้อื่นเขาทำเสร็จแล้วมาใช้ก็ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Architecture | สถาปัตยกรรมโครงสร้างของระบบคอมพิวเตอร์ว่าประกอบด้วยหน่วยอะไรบ้าง หน่วยเหล่านี้ทำงานอย่างไร มีวิธีการส่งผ่านข้อมูลและคำสั่งถึงกันอย่างไร วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์เป็นวิชาที่สำคัญ เพราะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจว่าคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างไร ชิ้นส่วนต่างๆ ภายในเครื่องมีอะไรบ้าง [คอมพิวเตอร์] |
Artifacts | สิ่งเทียม, สิ่งที่ไม่ต้องการในการบันทึก, วรจรไฟฟ้าที่รบกวนการทำงานของเครื่องมือ, ภาพหลอกลวง, มีตัวแปรมาก [การแพทย์] |
Assistant Mode | กระตุ้นเครื่องให้ทำงาน [การแพทย์] |
Astasia | การยืนไม่ได้เนื่องจากกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน [การแพทย์] |
Ataxia | อะแทกซิอา; อะแทกเซีย, อาการ; การเซ; เคลื่อนไหวเปะปะ; เดินตัวเซ; เดินเซ; อ่อนเพลีย; อาการเดินเซ; การขาดความสามารถในการกะระยะและความสม่ำเสมอนุ่มน; อะแทกเซีย; กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน; อะแท็กเซีย; โรคที่มีอาการเดินเซ; กล้ามเนื้อขาดการประสานงาน [การแพทย์] |
Before Action Review | การเตรียมความพร้อมก่อนการทำงาน หรือก่อนปฏิบัติ [การจัดการความรู้] |
Bicycle Ergometers | จักรยานที่ตั้งอยู่กับที่,จักรยานทดสอบสมรรถภาพการทำงานของร่างกาย [การแพทย์] |
Blue Collar Worker | คนทำงานใช้แรงงาน กลุ่มของผู้ใช้แรงงานในการทำงาน [สิ่งแวดล้อม] |
Catalyze | เร่งให้ทำงาน,เร่ง [การแพทย์] |
Clerical and Office Worker | ผู้ปฏิบัติงานเสมียนและสำนักงาน ผู้ทำงานที่ไม่ใช้แรงงาน [สิ่งแวดล้อม] |
Commuter | ผู้ไปกลับเป็นประจำ บุคคลที่เดินทางจากสถานที่อยู่อาศัย ไปยังสถานที่ทำงานเป็นประจำ [สิ่งแวดล้อม] |
Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] |
BWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็ว นิวตรอน โดยออกแบบการทำงานให้น้ำเดือดอยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน้ำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรงเพื่อ ผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Central Processing Unit (CPU) | ซีพียู, ชิปที่ติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ด ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นสารกึ่งตัวนำขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไว้มากมาย โดยวงจรจะประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กเป็นจำนวนมาก บางครั้งจึงเรียกชิปต่างๆ ว่า ไอซี ทำหน้าที่ในการประมวลผล และควบคุมการทำงานของคอมพิ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Confinement | สิ่งกักกั้น, สิ่งที่สร้างขึ้นล้อมอุปกรณ์หลักของโรงงานนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันหรือบรรเทาการปล่อยวัสดุกัมมันตรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อมในสภาวะการทำงานปกติหรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ เช่น บ่อน้ำแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ |
constraint | ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี, สิ่งที่ทำให้การทำงานของระบบเทคโนโลยีเกิดการติดขัด หรือสิ่งที่จำกัดขอบเขตการทำงาน ทำให้ไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ เช่น ข้อจำกัดด้านเงินทุน เวลา ความรู้ กฎข้อบังคับ สภาพอากาศ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Controlled area | พื้นที่ควบคุม, พื้นที่ที่ต้องมีมาตรการป้องกันและข้อกำหนดด้านความปลอดภัยโดยเฉพาะในการควบคุมการรับรังสีจากการทำงาน หรือจำกัดการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีไม่ให้แพร่กระจายออกไปในระหว่างการทำงานเพื่อหลีกเลี่ยง หรือจำกัดโอกาสการได้รับรังสี |
Coordination | การร่วมมือประสานงาน,การประสานงาน,การประสานรวมกัน,การใช้กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหว,ความสัมพันธ์ในการทำงานของอวัยวะ,ร่วมมือกันประสานงาน,การทำงานประสานกัน [การแพทย์] |
crank | ข้อเหวี่ยง, อุปกรณ์ที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมาหรือโยกขึ้นลงสลับกัน เช่น นำไปใช้ในส่วนบันไดปั่นจักรยานเพื่อควบคุมการทำงานของโซ่หมุนล้อ หรือในรถยนต์เพื่อควบคุมการทำงานของลูกสูบเครื่องยนต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Cushing's Disease | โรคคุชชิ่ง,การทำงานของต่อมใต้สมองมากไป [การแพทย์] |
Debilitated Physical Condition | ไม่สามารถทำงานหรือออกกำลังตามปกติได้ [การแพทย์] |
Demo | สาธิตเป็นคำที่กร่อนมาจากคำว่า Demonstration หมายถึง การสาธิตการทำงาน หรือการใช้งานของเครื่อง หรือโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] |
Desktop | โปรแกรมเดสก์ทอปโปรแกรมใดๆ ที่จัดแสดงเนื้อที่บนจอไว้ให้ทำงานเหมือนเนื้อที่บนโต๊ะ [คอมพิวเตอร์] |
Device driver | โปรแกรมขับอุปกรณ์โปรแกรมที่บอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะทำงานกับอุปกรณ์ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์นั้นอย่างไร เช่น โปรแกรมขับเครื่องพิมพ์เป็นตัวบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะสื่อสารกับเครื่องพิมพ์นั้นอย่างไรจึงจะเข้าใจกัน [คอมพิวเตอร์] |
Crosswalks | ครอสวอล์คเป็นรูปแบบหนึ่งของการใช้เมทาดาทาเพื่อให้เกิดทำงานข้ามระบบกันไำด้ โดยการจับคู่ (mapping) ระหว่างเมทาดาทาด้วยกัน (เช่น ระหว่างมาร์ค และดับลินคอร์เมทาดาทา) ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาและเข้าถึงตัวสารสนเทศที่อยู่ข้าม/ต่างโดเมนกัน การใช้เค้าร่าง/หลักเกณฑ์ (Schema) ของเมทาดาทาที่เป็นมาตรฐานจะช่วยอำนวยความสะดวกให้มีการแลกเปลี่ยนเมทาดาทา หรืออีกนัยหนึ่งทำให้มีการใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น |
Data processing | การประมวลผลข้อมูลกรรมวิธีในการเก็บข้อมูลจากที่เกิด นำข้อมูลมาบันทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ นำข้อมูลที่เก็บไว้มาจัดทำเป็นรายงานเสนอผู้ใช้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์บันทึกประวัติของนักเรียน ตรวจข้อสอบ ให้คะแนนสอบ แล้วบันทึกคะแนนสอบลงในประวัติของนักเรียน สุดท้ายจึงใช้คอมพิวเตอร์คิดระดับคะแนน และจัดทำรายงานคะแนนสอบ การประมวลผลข้อมูลเป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบพื้นฐานที่มีประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานและบริษัทต่างๆ นอกจากงานข้างต้นแล้ว ก็ยังมีตัวอย่างอื่นอีกมาก เช่น โรงแรมใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลทำบัญชีคิดเงินลูกค้า ห้างสรรพสินค้าใช้คอมพิวเตอร์อ่านฉลากสินค้าแล้วคิดเงิน ต่อจากนั้นก็บันทึกเก็บข้อมูลการขายไว้จัดทำบัญชีต่อไป ฯลฯ [คอมพิวเตอร์] |
Diaglog box | กรอบสนทนากรอบที่ปรากฎขึ้นเมื่อเราสั่งให้โปรแกรมบางโปรแกรมทำงานบางอย่าง [คอมพิวเตอร์] |
Diagnostic program | โปรแกรมวินิจฉัยโปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
function | (vt.) ทำงาน See also: ทำหน้าที่, ปฏิบัติหน้าที่ |
go out to work | (idm.) ทำงาน See also: ถูกจ้างงาน, มีงานทำ |
put in | (phrv.) ทำงาน See also: ใช้ความพยายาม Syn. put into |
work | (vi.) ทำงาน See also: ปฏิบัติงาน |
work nights | (phrv.) ทำงานกลางคืน |
stay with | (phrv.) ทำงานกับ Syn. stop with |
work with | (phrv.) ทำงานกับ |
operate from | (phrv.) ทำงานจาก (สถานที่) |
carpenter | (vt.) ทำงานช่างไม้ |
go by | (phrv.) ทำงานด้วย See also: ถูกควบคุมด้วย Syn. run on, work by |
gang up | (phrv.) ทำงานด้วยกันเป็นกลุ่ม |
work round | (idm.) ทำงานตลอดวันตลอดคืน See also: ทำทั้งวันทั้งคืน |
work away | (phrv.) ทำงานต่อเนื่อง See also: ทำต่อไป |
work at | (phrv.) ทำงานที่ |
let down | (phrv.) ทำงานน้อยลง See also: พยายามทำน้อยลง Ops. let up |
char | (vi.) ทำงานบ้าน |
keep house | (idm.) ทำงานบ้าน |
keep house | (idm.) ทำงานบ้าน |
go wrong | (phrv.) ทำงานผิดพลาด See also: ผิดปกติ, Ops. go right |
work to | (phrv.) ทำงานพร้อมกับฟัง (บางสิ่งเช่น เพลง) |
ตัวอย่างประโยค จาก Meemodel ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ | |
---|---|
Better do your research! Get it done! | ทำงานวิจัยของคุณดีกว่า ทำมันให้แล้วเสร็จ |
Does the shop open at 9am on weekdays? | ร้านค้าเปิดเวลา 9 นาฬิกา ในวันทำงานใช่ไหม |
It opens at 8 am on weekdays | มันเปิดเวลา 8 นาฬิกาในวันทำงาน |
Can you finish your work ahead of time? | คุณสามารถทำงานเสร็จก่อนเวลาได้ไหม |
What do you do at work? | คุณทำอะไรบ้างในที่ทำงาน |
What time do you finish your work? | คุณทำงานเสร็จเมื่อไหร่ |
I hurried to my office | ฉันรีบรุดไปที่ทำงาน |
I finished my work at 6 pm | ฉันทำงานเสร็จตอน 6 โมงเย็น |
I stayed and did some extra work | ฉันอยู่ที่ทำงานและทำงานพิเศษบางอย่าง |
Can you come to my office tomorrow morning? | คุณจะมาที่ที่ทำงานของฉันพรุ่งนี้เช้าได้ไหม |
I drive a blue car to work | ฉันขับรถคันสีฟ้าไปทำงาน |
They work well together | พวกเขาทำงานเข้าขากันดี |
They've been working on this project since last year | พวกเขาทำงานในโครงการนี้ตั้งแต่ปีที่แล้ว |
I'm sure I will do the work to the best of my ability | ฉันแน่ใจว่าฉันจะทำงานนี้อย่างสุดความสามารถของฉัน |
So you hang out with me at the office | งั้นเธอก็ไปใช้เวลาอยู่กับฉันในที่ทำงานแล้วกัน |
I'm working hard for the money | ฉันทำงานหนักเพื่อเงิน |
You no longer work here | คุณไม่ได้ทำงานที่นี่อีกต่อไปแล้ว |
Nice working with you | ดีที่ได้ทำงานกับคุณ |
Let's go back to work | กลับไปทำงานกันเถอะ |
Are you working late tonight? | คืนนี้คุณทำงานดึกไหม |
What do you do for a living? | คุณทำงานอะไรหรือ / คุณทำอะไรเลี้ยงชีพหรือ |
It's going to take a lot of work | คงจะต้องทำงานกันหนักน่าดู |
I would like to work there because… | ฉันอยากทำงานที่นั่นเพราะว่า |
I used to work there | ฉันเคยไปทำงานที่นั่น |
I'm self-employed so I have to work everyday | ฉันเป็นเจ้านายตัวเองดังนั้นฉันจึงต้องทำงานทุกวัน |
We need to work together here | พวกเราต้องทำงานด้วยกันที่นี่ |
Not a man volunteered to do the job | ไม่มีใครสักคนอาสาทำงานนี้ |
Somebody told my boss I have a part-time job | บางคนบอกกับเจ้านายของฉันว่าฉันทำงานนอกเวลา |
He thinks that I am too tired to work | เขาคิดว่าฉันเหนื่อยเกินกว่าจะทำงานได้ |
I had nothing to lose by giving up the job | ฉันไม่มีอะไรต้องเสียถ้าเลิกทำงานนั้น |
I've been tied up with extra work | ฉันยุ่งอยู่กับการทำงานพิเศษอยู่ |
What time do you leave for work? | คุณออกไปทำงานกี่โมง? |
Don't you ever get tired of working? | คุณไม่เคยเบื่อกับการทำงานเลยหรือ? |
All right, but let's finish this work first | ก็ได้ แต่พวกเรามาทำงานนี่ให้เสร็จก่อนเถอะ |
Oh, let's not do the work right now! | โอ พวกเราอย่าเพิ่งทำงานนี้ตอนนี้เลย |
Are you working on something? | คุณกำลังทำงานอะไรบางอย่างอยู่หรือ? |
I'm doing my work | ฉันกำลังทำงานของฉันอยู่ |
I'd better get back to work | ฉันควรจะกลับไปทำงาน |
Give him some time to do his job | ให้เวลาเขาทำงานบ้าง |
How long have you been working together | พวกคุณทำงานด้วยกันมานานแค่ไหน? |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
The lower-middle and working classes receiving the King's Commission? | ต่ำกว่าชนชั้นกลางและการ ทำงาน ขณะนี้ได้รับการสำนักงาน คณะกรรมการกำกับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว? ชั้นเรียนเหล่านี้ไม่เหมือน เช่นเดิม |
Yes, that's right. I work at the Verne vineyard. | ใช่ที่เหมาะสม ทำงาน l ที่ไร่องุ่นเวิร์น |
Guns one, activated. Guns two, activated. | กระบอกหนึ่ง, ทำงาน กระบอกสอง, ทำงาน |
Guns three, activated. Guns four, activated. | กระบอกสาม, ทำงาน กระบอกสี่, ทำงาน |
Somehow I doubt Jack will consider employment the same as being free. | ไม่มั่นใจนัก ว่าแจ็คจะรับข้อเสนอ ทำงาน แลกกับการพ้นข้อหา |
Imagine that you think you're gonna live your life one way - get a job, get married, get a 3-bedroom house. | นายต้องมีชีวิตที่ แสนจะธรรมดา ทำงาน แต่งงาน ซื้อบ้าน |
If we work, work, there'll be no doubt | # เราจะต้องทำ ทำงาน อย่างไม่ต้องสงสัย |
We got to work, work There'll be no doubt | # เราจะต้องทำ ทำงาน อย่างไม่ต้องสงสัย |
If we work, work, there'll be no doubt | # ถ้าเราทำ ทำงาน อย่างไม่ต้องสงสัย |
Nothing. Working, you know. How about you? | เหมือนเดิม ทำงาน แล้วนายล่ะ? |
I want you to remember al like I do-- at his desk, with a big smile on his face,surrounded by all his files. | ฉันอยากให้คุณจำอาลอย่างที่ฉันจำได้--บนโต๊ะ ทำงาน พร้อมรอยยิ้ม รอบล้อมไปด้วยแฟ้ม |
I mean during my shift. | ฉันหมายถึง ระหว่าง ทำงาน ตะหาก |
Sometimes when she was a little girl she would sit in front of the person's house. | ญาติ ที่ยังอยู่ เป็นมารดา ทำงาน ที่ โรงงาน เซรามิค โชคดี เราสามารถติดตามได้ |
INCLUDING THE MOVIE THEATER. WINDY KENNEDY WAS KILLED AT THE MOVIE THEATER. | เป็นคุณแม่ที่เลี้ยงลูกคนเดียว ทำงาน 2 กะรวดในร้านค้าท้องถิ่น |
Well, you know, work, save your life small electronic equipment. | เอ่อ, ทำงาน แนะแนวเกี่ยวกับ การรักษาชีวิตกับเทคโนโลยีเล็กๆ |
The doors are still locked, the seatbelt still buckled, the airbags deployed, but there's no indentation which implies no one was behind the wheel at the moment of impact. | ประตูรถยังคงปิดล็อคอยู่, สายเข็มขัดยังรัดแน่นอยู่เลย ถุงลมนิรภัย ทำงาน แล้วมันก็ไม่มีร่องรอย ที่จะอธิบาย |
My second year with Brooklyn P.D., one night we get a domestic disturbance call. | ตอนที่ผม ทำงาน ปีที่ 2 กับหน่วย ตร บรุ๊คลิน คืนหนึ่งเราได้รับสายแจ้งเรื่อง การถูกรบกวนภายในบ้าน |
Then work the case. Work-- work the--the Parofsky angle. | งั้นมาทำคดีกัน ทำงาน ทำงาน ล่อพารอฟสกี้ออกมา |
I was off planet doing my job... while your Federation did nothing. | ฉันออกมานอกดาว ทำงาน ขณะที่สหพันธ์ของนายไม่ทำบ้าอะไรเลย |
How's that line working for you? | วิธีการของ เส้นที่ ทำงาน สำหรับ คุณ |
I don't know. How's that line working for you? | ฉัน ไม่ทราบ วิธีการของ เส้นที่ ทำงาน สำหรับคุณ |
I've been working nights. | ฉันได้รับการ ทำงาน คืน |
You have a run-in with any of these guys? | คุณต้อง ทำงาน ในกับใด ๆ ของ คน เหล่านี้หรือไม่ |
Daddy's real busy. You tell mom I'm running late. | พ่อ ไม่ว่าง จริง คุณบอก แม่ ฉัน เมตร ทำงาน สาย |
Better save your strength 'cause you got a few more races left to run, show horse. | ดีกว่า บันทึก ความแข็งแรงของ คุณ เพราะ คุณมี เพียงไม่กี่ เชื้อชาติ เหลือที่จะ ทำงาน การแสดง ม้า |
Look, lady, why don't you just let me do my job, maybe save your life? | ฟังนะคุณ ทำไมคุณไม่ปล่อยให้ผม ทำงาน และช่วยชีวิตคุณด้วยล่ะ? |
I can live and work and still be happy. | ฉันยังอยู่ได้ ทำงาน และยังคงใช้ชีวิตมีความสุข |
If Cramer's device works, it will only send messages back a millionth of a second before they're sent, but a signal showing itself even a tiny bit in the past would revolutionize our understanding of time. | หากอุปกรณ์ของ แครเมอ ทำงาน มันจะส่งข้อความกลับ ล้านของวินาทีก่อนที่จะส่ง |
By working, working, and working on those problems, | โดยการทำงาน, ทำงาน และ ทำงานบนปัญหาเหล่านั้น |
You just go throw her up against the wall, start kissing her. | เขามีบริษัทอยู่ที่นั้น, ทำงาน 12-14 ชั่วโมงต่อวัน |
I'd rather be here, working. I'm saving for college. | ผมอยากจะอยู่ที่นี่ ทำงาน เก็บเงินเรียนมหาวิทยาลัย |
Theories abound about how time works, in the Universe and in our minds. | ทฤษฎีมากเกี่ยวกับวิธีการที่เวลา ทำงาน ในจักรวาลและในจิตใจของเรา |
Kind of a live/work setup till the troubles are over. | ใช้ชีวิต ทำงาน จนกว่าพวกปัญหาจบลง |
I'm just a guy that doesn't like taking tests, doing work, or getting yelled at. | ผมก็แค่ผู้ชายที่ไม่ชอบทำแบบทดสอบ ทำงาน หรือถูกตะโกนด่า |
We should just... work, right? | นายพูดถูก เราควรจะแค่ ทำงาน ใช่ไหม |
Pay off the car, work 50 hours a week, get married, buy a house-- that was survival for many not long ago. | ซื้อรถ, ทำงาน 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่งงาน ซื้อบ้านซักหลัง.. |
I've sent units to their homes, but it's daytime... some may be at work or school. | ผมส่ง คนไป ที่บ้าน แล้ว แต่ว่า ในเวลากลางวันนี้ บางคนอาจจะไป ทำงาน ไปโรงเรียน |
You understand that when a bomb is involved, public safety is top priority, then officers on the scene. | คุณเข้าใจนะ ถ้า ระเบิด ทำงาน ความปลอดภัยของสาธารนชน มาอันดับหนึ่ง ให้พวกเขาเข้าประจำที่ |
I'm uh, I work with Kiera. | ผม ทำงาน กับ คีย์ร่า |
She has no credit history, she only leaves the apartment to go to work, and she's constantly looking over her shoulder. | หล่อนไม่มีประวัติบัตรเครดิต หล่อนแค่ออกมา ทำงาน และคอยระวังตัวตลอดเวลา |
Japanese-Thai: Saikam Dictionary | |
---|---|
働く | [はたらく, hataraku] Thai: ทำงาน English: to work |
機能 | [きのう, kinou] Thai: หน้าที่การทำงาน English: faculty |