English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
สารสนเทศ | (n.) information |
สารสนเทศ | (n.) information |
English-Thai: HOPE Dictionary | |
---|---|
american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " |
ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
eis | (อีไอเอส) ย่อมาจาก executive information system (แปลว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก |
executive information sys | ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารใช้ตัวย่อว่า EIS (อ่านว่า อีไอเอส) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก |
file creation | การสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด |
hard copy | สำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ |
ifips | (ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า |
informatics | สนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ |
gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา |
ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
internet | (อินเทอร์เน็ต) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติที่มีสายตรงต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้รายใหญ่ทั่วโลก ผ่านโมเด็ม (modem) คล้ายกับ Compuserve ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมบางโปรแกรมมาใช้ได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้เปรียบเทียบว่า อินเตอร์เน็ตเป็นเหมือนทางหลวงระหว่างประเทศ แต่ละประเทศจะต้องมีถนนเข้ามาเชื่อมต่อเข้าไปในประเทศ กล่าวคือ จะต้องมีเครือข่ายภายในรับช่วงต่ออีกทอดหนึ่ง (เช่น ไทยมี Chulanet, KSC , Infonews เป็นต้น) มิฉะนั้นก็จะใช้ไม่ได้ผล |
it | (อิท) pron. มัน,นั่น,ตัว,คน,บุคคล,ตัวมาร,ตัวการ,คนสำคัญ,คนโง่. n. คนเล่น,สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
management information sy | ระบบการจัดการสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า MIS อ่านว่า เอ็มไอเอส เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น |
mis | (o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น |
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน | |
---|---|
information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
abandoned call | การเรียกถูกยกเลิก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abbreviated dialing | การต่อเลขหมายย่อ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AC (alternating current) | เอซี (กระแสสลับ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acoustic | ทางเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acoustics | สวนศาสตร์ [อ่านว่า สะวะนะสาด] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
advertainment | โฆษณาบันเทิง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AF (audio frequency) | เอเอฟ (ความถี่เสียง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AFC (automatic frequency control) | เอเอฟซี (การควบคุมความถี่อัตโนมัติ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AFT (automatic fine tuning) | เอเอฟที (การปรับชัดอัตโนมัติ, การปรับละเอียดอัตโนมัติ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AI (artificial intelligence) | เอไอ (ปัญญาประดิษฐ์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
airbrush | แอร์บรัช [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
airtime | เวลาสื่อสารทางอากาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alternating current (AC) | กระแสสลับ (เอซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
AM (amplitude modulation) | เอเอ็ม (การกล้ำแอมพลิจูด) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
American Standard Code for Information Interchange (ASCII) | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ (แอสกี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amplifier | เครื่องขยาย, วงจรขยาย, ตัวขยาย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amplitude | แอมพลิจูด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
analog channel | ช่องสัญญาณแอนะล็อก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
announcement service | การบริการประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anode | ขั้วบวก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
answered signal | สัญญาณตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antenna | สายอากาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
apogee | จุดโคจรไกลสุดจากโลก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ASA (American Standards Association) | เอเอสเอ (สมาคมมาตรฐานอเมริกา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ASCII (American Standard Code for Information Interchange) | แอสกี (รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assistance call | การเรียกผ่านพนักงานสลับสาย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ATC (air traffic control) | เอทีซี (การควบคุมจราจรทางอากาศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attenuation | การลดทอน, การลด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attenuator | ตัวลดทอน, ตัวลด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audio | โสต-, -เสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audio frequency (AF) | ความถี่เสียง (เอเอฟ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audiotape | แถบเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audiovisual | โสตทัศน- [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
authorize | อนุญาต, ให้อำนาจ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
azimuth | แอซิมัท, ภาคทิศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
banner heading | พาดตัวยักษ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
baseline | ๑. เส้นหลักล่าง๒. เส้นเชื่อมฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
batch | กลุ่ม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
beacon | เครื่องบอกตำแหน่ง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช. | |
---|---|
Information | สารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Abridged dictionary | พจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Acquisition | การจัดหา การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง |
Adaptation | ฉบับดัดแปลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Aisle | ทางเดินระหว่างตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
All along | การเย็บกี่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
American National Standards Institute | สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ว่าด้วยการมาตรฐาน (ANSI) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Analytic card | บัตรจำแนก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Annotation | บรรณนิทัศน์บรรณนิทัศน์ เป็นการย่อเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศของเอกสาร ผู้จัดทำบรรณนิทัศน์ อาจได้แก่ ผู้ผลิตหนังสือ เพื่อการเป็นการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาหนังสือ ส่วนห้องสมุดจัดทำบรรณนิทัศน์ เพื่อแจ้งแก่ผู้ใช้ห้องสมุดเป็นการเรียกความสนใจ และเพื่อแจ้งแก่บุคลากรห้องสมุด เพื่อเป็นการช่วยตัดสินใจในการพิจารณาเลือกซื้อหรือจัดหา ตัวอย่าง เช่น บรรณนิทัศน์งานเขียนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หรือมีการจัดทำบรรณนิทัศน์เฉพาะเรื่องเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่้น บรรณนิทัศน์หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 |
Anthology | หนังสือรวมเรื่องAnthology หมายถึง หนังสือรวมเรื่องหรือส่วนที่ตัดตอนออกมาจากงานเขียนของผู้แต่งคนเดียวหรือ ผู้แต่งหลาย ๆ คนที่คัดเลือกมาสำหรับการจัดพิมพ์ในฉบับเดียวหรือในชุดเดียว ดังนั้น จึงมีเนื้อหาหลาย ๆ เรื่องรวมอยู่ในเล่มเดียวกัน โดยไม่ได้มีเนื้อหาต่อเนื่องกันเลย เช่น หนังสือรวมบทความ หนังสือรวมงานวิจัย หนังสือรวมเรื่องสั้น เป็นต้น หนังสือรวมเรื่องมักถูกจำกัดที่รูปแบบของวรรณกรรมหรือประเภทของหนังสือ (เช่น เรื่องสั้น บทละคร ร้อยกรอง) หรือประเภทของผู้แต่ง ในบัตรรายการ อาจลงรายการจำแนก (Analytical entry) ให้กับงานเขียนที่จัดพิมพ์ในแบบหนังสือรวมเรื่อง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบ หรือค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์แบบรวมเรื่องได้ ส่วนรายการออนไลน์ งานเขียนของผู้แต่งแต่ละบุคคลจะจัดทำรายการอยู่ในรายการบรรณานุกรม (Bibliographic record) ในเนื้อหาที่สามารถค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้คำสำคัญในการสืบค้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Arrangement | การจัดลำดับเนื้อเรื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Authorship | การเขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Best sellers | หนังสือขายดี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Binding | การเย็บเล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Boarder term | คำที่กว้างกว่า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bookbinding | การเย็บเล่มหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Booklet | จุลสาร, อนุสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bookseller and bookselling | ผู้ขายและการขายหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bookstore | ร้านขายหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Antiquarian book | หนังสือโบราณAntiquarian book หมายถึง หนังสือโบราณ เป็นหนังสือเก่าที่จัดพิมพ์ก่อน ปี ค.ศ. 1800 และรวมถึงหนังสือที่จัดทำในศตวรรษที่ 15 – 18 โดยเฉพาะหนังสือที่ทำขึ้นก่อน ปี ค.ศ. 1455 ซึ่งเป็นหนังสือที่เขียนด้วยลายมือทุกเล่ม หนังสือเหล่านี้เป็นหนังสือที่มีคุณค่ามากซึ่งนักสะสมหนังสือโบราณจะให้ความสนใจในการเก็บสะสม เนื่องจากความหายากของหนังสือและยิ่งถ้าหนังสือนั้นยังอยู่ในสภาพทีดีก็ยิ่งมีคุณค่ามากสำหรับการเก็บสะสม ตัวอย่างของหนังสือโบราณ เช่น หนังสือที่เขียนโดย Charles Dickens, Mark Twain เป็นต้น หนังสือเหล่านี้เป็นหนังสือที่ผู้ขายหนังสือโบราณนำมาขาย โดยการประเมินราคาหนังสือ และมักขายโดยวิธีการประมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] |
Backlog | หนังสือค้างออสบอร์น [1] และ ปิเตอร์นิค [2] ได้ให้คำจำกัดความของรายการที่ค้างดำเนินการ (Arrear of Cataloging) ไว้ดังนี้ เป็นรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดที่ไม่ได้รับการดำเนินการตามขั้นตอนใดๆ เลย ซึ่งอาจได้แก่ หนังสือที่ห้องสมุดได้รับบริจาคมาเป็นจำนวนมากๆ หรือเป็นหนังสือที่ได้รับการดำเนินการช้าเกินควรหรือเป็นหนังสือที่ได้รับการทำบัตรรายการยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จนถึงยังมิได้ดำเนินการในขั้นตอนใดเลย นับตั้งแต่ได้รับหนังสือมา หรือ หมายถึง หนังสือที่ไม่ได้รับการทำบัตรรายการ ซึ่งอาจเนื่องจากลักษณะภายนอกของหนังสือ (accident) หรือเพราะเป็นผลมาจากเหตุการณ์บางอย่างที่เป็นอุปสรรค (circumstance) ซึ่งสามารถสรุปสาเหตุที่สำคัญๆ [3]ได้ดังนี้ |
Borrower card | บัตรสมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Brochure | อัลปสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Capture | เก็บเกี่ยว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Card sorter | แผงเรียงบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Chapter | ตอน, ส่วน, บทหนึ่งของหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Chief Information Officer | ผู้บริหารด้านสารสนเทศ [การจัดการความรู้] |
Children's dictionary | พจนานุกรมสำหรับเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Chronological arrangement | การจัดเนื้อเรื่องตามลำดับวันเดือนปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Citation footnote | เชิงอรรถอ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Claim | การทวง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Clip art | คลิปอาร์ต [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Collation | บรรณลักษณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Collection | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Broad classification | การจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆการจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆ (Broad classification) หมายถึง การจัดหมู่หนังสือโดยเลือกหมวดหมู่ใหญ่อย่างกว้าง ๆ มากกว่าเลือกหมวดหมู่ย่อย และพยายามใช้หมวดหมู่ย่อยให้น้อยที่ที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก) จัดหมวดหมู่เบื้องต้นสำหรับหนังสือที่ห้องสมุดพึ่งได้รับ เพื่อเตรียมไว้สำหรับจัดหมวดหมู่ละเอียดต่อไป ข) เพื่อใช้ในห้องสมุดขนาดเล็กที่มีหนังสือหมวดหมู่ต่าง ๆ เป็นจำนวนไม่มากนัก จึงไม่จำเป็นต้องจำแนกทรัพยากรสารสนเทศอย่างละเอียด เช่น การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ อาจใช้เลขหมู่ 641.5 แทนการใช้เลขหมู่ 641.5945 สำหรับตำราอาหารอิตาเลียน เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Caldecott medal | รางวัลเหรียญคัลดีคอตรางวัลเหรียญคัลดีคอต (Caldecott medal) เป็นรางวัลวรรณกรรมที่มอบให้แก่ผู้วาดภาพประกอบหนังสือภาพสำหรับเด็ก สำหรับหนังสือภาพสำหรับเด็กที่ดีเด่นที่สุดที่ตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกาในปีที่ผ่านมา โดยมอบรางวัลนี้ให้เป็นประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ.1938 เป็นต้นมา จากสมาคมเพื่อบริการห้องสมุดแก่เด็ก (Association for Library Service to Children) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association) รางวัลนี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ศิลปินและนักวาดภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็กชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 คือ แรนดอล์ฟ คัลดีคอต (Randolph Caldecott) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catch letters | อักษรนำทางอักษรนำทาง (Catch letters) คือ ตัวอักษรซึ่งปรากฏอยู่ส่วนบนสุดของหน้ากระดาษในหนังสือพจนานุกรม อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ เพื่อแจ้งให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นมีใจความเริ่มต้นด้วยคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรใดและสิ้นสุดด้วยคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรใด อักษรนำทางนี้นิยมพิมพ์เป็นกลุ่มละ 3 ตัวอักษร ในหนังสือบางเล่ม จัดทำอักษรนำทางเป็น 2 กลุ่ม คั่นด้วยเครื่องหมายยัติภังค์ หรือ hyphen ( - ) ซึ่งจะแสดงคำแรกและคำสุดท้ายในหน้านั้น การใช้อักษรนำทางเป็นการช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้หนังสือเล่มนั้น เพราะผู้ใช้สามารถทราบได้ทันทีว่าคำที่ต้องการค้น อยู่ที่หน้าใดของหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Catchword | คำนำทางคำนำทาง (Catchword) คือ คำหรือบางส่วนของคำที่พิมพ์เป็นตัวหนาหรือตัวพิมพ์ใหญ่ไว้ที่ด้านบนของคอลัมน์หรือของหน้าในพจนานุกรมหรือสารานุกรม โดยเป็นคำซ้ำกับคำที่ปรากฎเป็นคำแรกและ/หรือเป็นคำสุดท้ายในคอลัมน์หรือบนหน้ากระดาษ ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรนำทาง (Catch letters) แต่แทนที่จะเป็นตัวอักษร ก็ระบุคำนั้นทั้งคำในต้นฉบับตัวเขียนในยุคกลางและในยุคต้น ๆ ของการพิมพ์หนังสือ จะระบุคำหรือบางส่วนของคำที่ปรากฎที่ส่วนล่างของหน้าสุดท้ายของกระดาษที่พับเรียงกัน 1 ยก (ประกอบด้วยกระดาษ 24 แผ่น) และพิมพ์คำแรกที่ปรากฎในหน้าแรกของกระดาษในยกต่อไป ช่วยให้ผู้เย็บเล่มจัดเรียงลำดับหน้าหนังสือได้ถูกต้อง และเพื่อให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นเริ่มต้นด้วยคำใดสิ้นสุดด้วยคำใด บางทีในหนังสือสารานุกรมจะระบุคำนำทางไว้ในหน้าหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าหน้านั้นเป็นเรื่องใด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary | |
---|---|
information system | (n.) ระบบสารสนเทศ |
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles | |
---|---|
Remember when you had Marcie plug all the clues off the Mosaic board into NCIC? | จำตอนที่นายมีรูปมาร์ซี ติดอยู่ในแบะแสได้มั้ย ตรงบอร์ดโมเสค ในศูนย์สารสนเทศอาชญกรรม? |
When it hit the system, NCIC kicked back a red flag. | เมื่อคลิ๊ปถูกส่งเข้ามา ทางศูนย์สารสนเทศ อาชญากรรมชักธงแดงเลย |
He's been developing intelligence and information systems for the private sector, right? | และระบบสารสนเทศ สำหรับภาคเอกชน ใช่ไหม? |
Do you dream of a career in the exciting field of air conditioning repair or health information technology? | คุณฝันจะทำอาชีพ ในสาขาที่น่าตื่นเต้นหรือเปล่า เป็นช่างซ่อมแอร์ \i1}งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ อยู่หรือเปล่า? |
Might be able to help the I.O. run a few leads. | อาจจะสามารถช่วยหน่วยปฎิบัติการสารสนเทศ ในการค้นหาร่องรอยบ้าง |