ผลการค้นหา ความหมาย คำแปล แปลว่าอะไร ของ

สนเทศ

ใน Dictionary 5 ภาษา
ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงความต้องการมากขึ้น *สนเทศ*, -สนเทศ-

สนเทศ ในภาษาอังกฤษ

English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary
สนเทศ (n.) information
English-Thai: HOPE Dictionary
informaticsสนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ
american standard code foรหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี "
asciiคำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต)
chief information officerประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
cio(ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
computer scienceวิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์
data fileแฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล"
eis(อีไอเอส) ย่อมาจาก executive information system (แปลว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก
executive information sysระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารใช้ตัวย่อว่า EIS (อ่านว่า อีไอเอส) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก
file creationการสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด
hard copyสำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ
file(ไฟลฺ) {filed,filing,files} n. แผงหรือแฟ้มเก็บเอกสาร,ปึกเอกสาร,เอกสารเป็นเรื่อง ๆ หนึ่ง,หมวดเอกสาร,แถวเรียง,ตารางเรียง,ตะไบ,คนเจ้าเล่ห์. -Phr. (on file ซึ่งจัดไว้เป็นเครื่อง ๆ ในแฟ้มเก็บเอกสาร) . vt. จัดเข้าแฟ้ม,เก็บเอกสาร,ยื่นคำร้อง. vi. เดินเป็นแถวตรง,ยื่น หมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็น แม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นโปรแกรม ข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็น ของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล"
gigo(กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา
ieee(ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
ifips(ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า
inference engineเครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง
informant(อินฟอร์'เมินทฺ) n. ผู้บอก,ผู้แจ้ง,ผู้ให้ความรู้,สนเทศ, Syn. informer
information(อินฟอร์เม'เชิน) n. ความรู้,ข่าว,ข้อมูล,การบอกข่าว,การให้ความรู้,สำนักงานสนเทศ., See also: informational adj., Syn. learning
informer(อินฟอร์ม'เมอะ) n. ผู้บอกให้รู้,สนเทศ,ผู้แจ้งข่าว
information technologyเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
institute of electrical aสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
internet(อินเทอร์เน็ต) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติที่มีสายตรงต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้รายใหญ่ทั่วโลก ผ่านโมเด็ม (modem) คล้ายกับ Compuserve ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมบางโปรแกรมมาใช้ได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้เปรียบเทียบว่า อินเตอร์เน็ตเป็นเหมือนทางหลวงระหว่างประเทศ แต่ละประเทศจะต้องมีถนนเข้ามาเชื่อมต่อเข้าไปในประเทศ กล่าวคือ จะต้องมีเครือข่ายภายในรับช่วงต่ออีกทอดหนึ่ง (เช่น ไทยมี Chulanet, KSC , Infonews เป็นต้น) มิฉะนั้นก็จะใช้ไม่ได้ผล
it(อิท) pron. มัน,นั่น,ตัว,คน,บุคคล,ตัวมาร,ตัวการ,คนสำคัญ,คนโง่. n. คนเล่น,สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
management information syระบบการจัดการสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า MIS อ่านว่า เอ็มไอเอส เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น
mis(o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
informaticsสนเทศศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
abandoned callการเรียกถูกยกเลิก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
abbreviated dialingการต่อเลขหมายย่อ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AC (alternating current)เอซี (กระแสสลับ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
acousticทางเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
acousticsสวนศาสตร์ [อ่านว่า สะวะนะสาด] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
advertainmentโฆษณาบันเทิง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AF (audio frequency)เอเอฟ (ความถี่เสียง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AFC (automatic frequency control)เอเอฟซี (การควบคุมความถี่อัตโนมัติ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AFT (automatic fine tuning)เอเอฟที (การปรับชัดอัตโนมัติ, การปรับละเอียดอัตโนมัติ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AI (artificial intelligence)เอไอ (ปัญญาประดิษฐ์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
airbrushแอร์บรัช [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
airtimeเวลาสื่อสารทางอากาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
alternating current (AC)กระแสสลับ (เอซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
AM (amplitude modulation)เอเอ็ม (การกล้ำแอมพลิจูด) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
American Standard Code for Information Interchange (ASCII)รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ (แอสกี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
amplifierเครื่องขยาย, วงจรขยาย, ตัวขยาย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
amplitudeแอมพลิจูด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
analog channelช่องสัญญาณแอนะล็อก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
announcement serviceการบริการประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
anodeขั้วบวก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
answered signalสัญญาณตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
antennaสายอากาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
apogeeจุดโคจรไกลสุดจากโลก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ASA (American Standards Association)เอเอสเอ (สมาคมมาตรฐานอเมริกา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ASCII (American Standard Code for Information Interchange)แอสกี (รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสารสนเทศ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
assistance callการเรียกผ่านพนักงานสลับสาย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ATC (air traffic control)เอทีซี (การควบคุมจราจรทางอากาศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
attenuationการลดทอน, การลด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
attenuatorตัวลดทอน, ตัวลด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
audioโสต-, -เสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
audio frequency (AF)ความถี่เสียง (เอเอฟ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
audiotapeแถบเสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
audiovisualโสตทัศน- [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
authorizeอนุญาต, ให้อำนาจ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
azimuthแอซิมัท, ภาคทิศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
banner headingพาดตัวยักษ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
baseline๑. เส้นหลักล่าง๒. เส้นเชื่อมฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
batchกลุ่ม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
beaconเครื่องบอกตำแหน่ง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Informaticsสนเทศศาสตร์ [การจัดการความรู้]
Abridged dictionaryพจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Acquisitionการจัดหา การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง
Adaptationฉบับดัดแปลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Aisleทางเดินระหว่างตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
All alongการเย็บกี่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
American National Standards Instituteสถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ว่าด้วยการมาตรฐาน (ANSI) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Analytic cardบัตรจำแนก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Annotationบรรณนิทัศน์บรรณนิทัศน์ เป็นการย่อเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศของเอกสาร ผู้จัดทำบรรณนิทัศน์ อาจได้แก่ ผู้ผลิตหนังสือ เพื่อการเป็นการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาหนังสือ ส่วนห้องสมุดจัดทำบรรณนิทัศน์ เพื่อแจ้งแก่ผู้ใช้ห้องสมุดเป็นการเรียกความสนใจ และเพื่อแจ้งแก่บุคลากรห้องสมุด เพื่อเป็นการช่วยตัดสินใจในการพิจารณาเลือกซื้อหรือจัดหา ตัวอย่าง เช่น บรรณนิทัศน์งานเขียนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หรือมีการจัดทำบรรณนิทัศน์เฉพาะเรื่องเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่้น บรรณนิทัศน์หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
Anthologyหนังสือรวมเรื่องAnthology หมายถึง หนังสือรวมเรื่องหรือส่วนที่ตัดตอนออกมาจากงานเขียนของผู้แต่งคนเดียวหรือ ผู้แต่งหลาย ๆ คนที่คัดเลือกมาสำหรับการจัดพิมพ์ในฉบับเดียวหรือในชุดเดียว ดังนั้น จึงมีเนื้อหาหลาย ๆ เรื่องรวมอยู่ในเล่มเดียวกัน โดยไม่ได้มีเนื้อหาต่อเนื่องกันเลย เช่น หนังสือรวมบทความ หนังสือรวมงานวิจัย หนังสือรวมเรื่องสั้น เป็นต้น หนังสือรวมเรื่องมักถูกจำกัดที่รูปแบบของวรรณกรรมหรือประเภทของหนังสือ (เช่น เรื่องสั้น บทละคร ร้อยกรอง) หรือประเภทของผู้แต่ง ในบัตรรายการ อาจลงรายการจำแนก (Analytical entry) ให้กับงานเขียนที่จัดพิมพ์ในแบบหนังสือรวมเรื่อง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบ หรือค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์แบบรวมเรื่องได้ ส่วนรายการออนไลน์ งานเขียนของผู้แต่งแต่ละบุคคลจะจัดทำรายการอยู่ในรายการบรรณานุกรม (Bibliographic record) ในเนื้อหาที่สามารถค้นหาเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้คำสำคัญในการสืบค้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Arrangementการจัดลำดับเนื้อเรื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Authorshipการเขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Best sellersหนังสือขายดี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bindingการเย็บเล่ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Boarder termคำที่กว้างกว่า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bookbindingการเย็บเล่มหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bookletจุลสาร, อนุสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bookseller and booksellingผู้ขายและการขายหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Antiquarian bookหนังสือโบราณAntiquarian book หมายถึง หนังสือโบราณ เป็นหนังสือเก่าที่จัดพิมพ์ก่อน ปี ค.ศ. 1800 และรวมถึงหนังสือที่จัดทำในศตวรรษที่ 15 – 18 โดยเฉพาะหนังสือที่ทำขึ้นก่อน ปี ค.ศ. 1455 ซึ่งเป็นหนังสือที่เขียนด้วยลายมือทุกเล่ม หนังสือเหล่านี้เป็นหนังสือที่มีคุณค่ามากซึ่งนักสะสมหนังสือโบราณจะให้ความสนใจในการเก็บสะสม เนื่องจากความหายากของหนังสือและยิ่งถ้าหนังสือนั้นยังอยู่ในสภาพทีดีก็ยิ่งมีคุณค่ามากสำหรับการเก็บสะสม ตัวอย่างของหนังสือโบราณ เช่น หนังสือที่เขียนโดย Charles Dickens, Mark Twain เป็นต้น หนังสือเหล่านี้เป็นหนังสือที่ผู้ขายหนังสือโบราณนำมาขาย โดยการประเมินราคาหนังสือ และมักขายโดยวิธีการประมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Augmentative and Alternative Communicateอุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology]
Backlogหนังสือค้างออสบอร์น [1] และ ปิเตอร์นิค [2] ได้ให้คำจำกัดความของรายการที่ค้างดำเนินการ (Arrear of Cataloging) ไว้ดังนี้ เป็นรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดที่ไม่ได้รับการดำเนินการตามขั้นตอนใดๆ เลย ซึ่งอาจได้แก่ หนังสือที่ห้องสมุดได้รับบริจาคมาเป็นจำนวนมากๆ หรือเป็นหนังสือที่ได้รับการดำเนินการช้าเกินควรหรือเป็นหนังสือที่ได้รับการทำบัตรรายการยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จนถึงยังมิได้ดำเนินการในขั้นตอนใดเลย นับตั้งแต่ได้รับหนังสือมา หรือ หมายถึง หนังสือที่ไม่ได้รับการทำบัตรรายการ ซึ่งอาจเนื่องจากลักษณะภายนอกของหนังสือ (accident) หรือเพราะเป็นผลมาจากเหตุการณ์บางอย่างที่เป็นอุปสรรค (circumstance) ซึ่งสามารถสรุปสาเหตุที่สำคัญๆ [3]ได้ดังนี้
Bookstoreร้านขายหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Borrower cardบัตรสมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Brochureอัลปสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Captureเก็บเกี่ยว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Card sorterแผงเรียงบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogแค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Chapterตอน, ส่วน, บทหนึ่งของหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Chief Information Officerผู้บริหารด้านสารสนเทศ [การจัดการความรู้]
Children's dictionaryพจนานุกรมสำหรับเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Chronological arrangementการจัดเนื้อเรื่องตามลำดับวันเดือนปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Citation footnoteเชิงอรรถอ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Claimการทวง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Clip artคลิปอาร์ต [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Collationบรรณลักษณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Broad classificationการจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆการจัดหมู่หนังสืออย่างกว้าง ๆ (Broad classification) หมายถึง การจัดหมู่หนังสือโดยเลือกหมวดหมู่ใหญ่อย่างกว้าง ๆ มากกว่าเลือกหมวดหมู่ย่อย และพยายามใช้หมวดหมู่ย่อยให้น้อยที่ที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก) จัดหมวดหมู่เบื้องต้นสำหรับหนังสือที่ห้องสมุดพึ่งได้รับ เพื่อเตรียมไว้สำหรับจัดหมวดหมู่ละเอียดต่อไป ข) เพื่อใช้ในห้องสมุดขนาดเล็กที่มีหนังสือหมวดหมู่ต่าง ๆ เป็นจำนวนไม่มากนัก จึงไม่จำเป็นต้องจำแนกทรัพยากรสารสนเทศอย่างละเอียด เช่น การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ อาจใช้เลขหมู่ 641.5 แทนการใช้เลขหมู่ 641.5945 สำหรับตำราอาหารอิตาเลียน เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Caldecott medalรางวัลเหรียญคัลดีคอตรางวัลเหรียญคัลดีคอต (Caldecott medal) เป็นรางวัลวรรณกรรมที่มอบให้แก่ผู้วาดภาพประกอบหนังสือภาพสำหรับเด็ก สำหรับหนังสือภาพสำหรับเด็กที่ดีเด่นที่สุดที่ตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกาในปีที่ผ่านมา โดยมอบรางวัลนี้ให้เป็นประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ.1938 เป็นต้นมา จากสมาคมเพื่อบริการห้องสมุดแก่เด็ก (Association for Library Service to Children) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association) รางวัลนี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ศิลปินและนักวาดภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็กชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 คือ แรนดอล์ฟ คัลดีคอต (Randolph Caldecott) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catch lettersอักษรนำทางอักษรนำทาง (Catch letters) คือ ตัวอักษรซึ่งปรากฏอยู่ส่วนบนสุดของหน้ากระดาษในหนังสือพจนานุกรม อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ เพื่อแจ้งให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นมีใจความเริ่มต้นด้วยคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรใดและสิ้นสุดด้วยคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรใด อักษรนำทางนี้นิยมพิมพ์เป็นกลุ่มละ 3 ตัวอักษร ในหนังสือบางเล่ม จัดทำอักษรนำทางเป็น 2 กลุ่ม คั่นด้วยเครื่องหมายยัติภังค์ หรือ hyphen ( - ) ซึ่งจะแสดงคำแรกและคำสุดท้ายในหน้านั้น การใช้อักษรนำทางเป็นการช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้หนังสือเล่มนั้น เพราะผู้ใช้สามารถทราบได้ทันทีว่าคำที่ต้องการค้น อยู่ที่หน้าใดของหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Collectionทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catchwordคำนำทางคำนำทาง (Catchword) คือ คำหรือบางส่วนของคำที่พิมพ์เป็นตัวหนาหรือตัวพิมพ์ใหญ่ไว้ที่ด้านบนของคอลัมน์หรือของหน้าในพจนานุกรมหรือสารานุกรม โดยเป็นคำซ้ำกับคำที่ปรากฎเป็นคำแรกและ/หรือเป็นคำสุดท้ายในคอลัมน์หรือบนหน้ากระดาษ ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรนำทาง (Catch letters) แต่แทนที่จะเป็นตัวอักษร ก็ระบุคำนั้นทั้งคำในต้นฉบับตัวเขียนในยุคกลางและในยุคต้น ๆ ของการพิมพ์หนังสือ จะระบุคำหรือบางส่วนของคำที่ปรากฎที่ส่วนล่างของหน้าสุดท้ายของกระดาษที่พับเรียงกัน 1 ยก (ประกอบด้วยกระดาษ 24 แผ่น) และพิมพ์คำแรกที่ปรากฎในหน้าแรกของกระดาษในยกต่อไป ช่วยให้ผู้เย็บเล่มจัดเรียงลำดับหน้าหนังสือได้ถูกต้อง และเพื่อให้ทราบว่าหนังสือหน้านั้นเริ่มต้นด้วยคำใดสิ้นสุดด้วยคำใด บางทีในหนังสือสารานุกรมจะระบุคำนำทางไว้ในหน้าหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าหน้านั้นเป็นเรื่องใด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary
information system (n.) ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles
Remember when you had Marcie plug all the clues off the Mosaic board into NCIC?จำตอนที่นายมีรูปมาร์ซี ติดอยู่ในแบะแสได้มั้ย ตรงบอร์ดโมเสค ในศูนย์สารสนเทศอาชญกรรม?
When it hit the system, NCIC kicked back a red flag.เมื่อคลิ๊ปถูกส่งเข้ามา ทางศูนย์สารสนเทศ อาชญากรรมชักธงแดงเลย
He's been developing intelligence and information systems for the private sector, right?และระบบสารสนเทศ สำหรับภาคเอกชน ใช่ไหม?
Do you dream of a career in the exciting field of air conditioning repair or health information technology?คุณฝันจะทำอาชีพ ในสาขาที่น่าตื่นเต้นหรือเปล่า เป็นช่างซ่อมแอร์ \i1}งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ อยู่หรือเปล่า?
Might be able to help the I.O. run a few leads.อาจจะสามารถช่วยหน่วยปฎิบัติการสารสนเทศ ในการค้นหาร่องรอยบ้าง

สิ้นสุดผลการค้นหา ความหมาย คำแปล แปลว่าอะไร สำหรับคำว่า สนเทศ