alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym) 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป (icon) อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น |
ariticles of confederatio | รัฐธรรมนูญของ 13 อาณานิคมของอเมริกาในปี 1781 |
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
balloon help | คำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ |
close box | ช่องปิดวินโดว์หมายถึงช่องสี่เหลี่ยมที่มุมขวาบนของวินโดว์ ที่มีลักษณะเป็นกากบาท เมื่อกดที่ปุ่มนี้ วินโดว์จะปิดลงเหมือนใช้คำสั่ง close ใต้เมนู FILE |
constituent | (คันสทิช'ชุเอินทฺ) adj. เป็นส่วนประกอบ,เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ n. องค์ประกอบ, Syn. intrinsic ###A. extrinsic |
constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น,การก่อตั้ง,การสถาปนา,ร่างกาย,อุปนิสัย,สันดาน,รัฐธรรมนูญ,ระเบียบข้อบังคับ,รูปแบบการปกครอง,รากฐาน, Syn. composition |
constitutional | (คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน,เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ,เป็นส่วนสำคัญ,ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ,เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, Syn. basic |
constitutional law | n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ |
constitutional monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ |
click | (คลิค) 1. {clicked,clicking,clicks} n. เสียงดังกริ๊ก,กลอนสปริง,ตัวดึง,เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก,เปล่งเสียงดังกริ๊ก,กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก,กระทำสำเร็จ,ประสานกันได้ดี,สอดคล้อง,ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก,กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ |
clipboard | คลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ |
clipboard viewer | ที่ดูคลิปบอร์ดเป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งในระบบวินโดว์ เมื่อเรียกใช้ จะแสดงให้ดูทันทีว่า ในคลิปบอร์ดมีภาพหรือข้อความใดเก็บอยู่ เมื่อเราใช้คำสั่ง paste ที่อยู่ใต้เมนู EDIT ซึ่งจะมีอยู่ในทุกโปรแกรม ภาพหรือข้อความที่มองเห็นว่าอยู่ในคลิปบอร์ดจะไปปรากฏ ณ ตำแหน่งที่กำหนดให้ทันทีดู clipboard ประกอบ |
dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) |
drop-down menu | รายการเลือกแบบดึงลงหมายถึง รายชื่อเมนูที่เมื่อใช้เมาส์กดแล้วจะมีรายการแสดงให้เลือก เช่น ถ้ากดเมาส์ที่เมนู Edit จะมีรายการเลือก copy, cut, paste ฯ เรียงลงมาให้เลือก |
gopher | (โก'เฟอะ) n. คนที่มีใจจดใจจ่อ,ผู้ช่วย,เด็กรับใช้,เป็นชื่อโปรแกรมที่ทำให้เราสามารถอ่านข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตได้ เริ่มด้วยการช่วยหาแฟ้มข้อมูล ในลักษณะที่เป็นแบบเมนู กล่าวคือ มีรายการให้เลือก เมื่อพบแล้วก็สามารถเก็บลงในจานบันทึก หรือสั่งพิมพ์ออกมาได้ |
graphical user interface | การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้ใช้ตัวย่อว่า GUI (อ่านว่ากุย) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู |
exit | (เอค'ซิท,เอค'ซิท) n. ทางออก,ประตูฉุกเฉิน,การจากไป,การลงจากเวที,การตาย. vi. ออกไป,จากไป,ลงจากเวที,ตาย. -make one's exit ออกไป,จากไป, Syn. outlet, ออกทางออกหมายถึงคำสั่งที่ผู้ใช้โปรแกรมใช้ เมื่อต้องการหยุดหรือเลิกใช้โปรแกรมนั้นเพื่อกลับออกไปสู่ระบบปฏิบัติการ (operating systems) หลังจากที่ใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมต่าง ๆ ของแมคอินทอชมักจะใช้คำว่า Quit แทน ซึ่งก็มีความหมายเหมือนกัน ในระบบวินโดว์ของพีซี ทุกโปรแกรมจะมีคำสั่งนี้ไว้ให้เลือกใต้เมนู File ซึ่งเป็นคำสั่งกลับออกไปยังระบบวินโดว์นั้นเอง |
find | (ไฟดฺ) {found,found,finding,finds} vt. พบ,ประสบ,หา,ได้รับ,จัดหา,ไปถึง,ตัดสิน,ชี้ขาด,บรรลุ,ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก,เห็นว่า,ตัดสิน,ชี้ขาด,ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. (all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล (database management) เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน (record) บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ (directory) ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย (อยู่ใต้เมนู File) มีความหมายเหมือน search |
finder | (ไฟ'เดอะ) n. ผู้ค้นหา,สิ่งที่ใช้ค้นหา,กล้องโทรทรรศน์,กล้องส่องทางไกล,กล้องดูภาพ,เครื่องวัด,เครื่องตรวจสอบ ตัวหาเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (ดูใน System Folder) ที่ทำหน้าที่จัดการ ในเรื่องสัญรูป (icon) การแสดงรายการต่าง ๆ ตลอดถึงการแสดงวินโดว์ การคัดลอก การย้าย และการลบแฟ้มข้อมูล หากไม่มี โปรแกรมนี้ การทำงานจะช้ากว่านี้ มาก เครื่องแมคอินทอช รุ่นใหม่ ๆ จะแสดงเป็นเมนูดัง ที่เห็นในภาพข้าง ๆ |
folder | n. เครื่องพับ,คนพับกระดาษ,ที่เก็บกระดาษเอกสาร กล่องแฟ้มข้อมูลโฟลเดอร์หมายถึง ที่รวมกลุ่มแฟ้มข้อมูล เป็นศัพท์ที่ใช้เฉพาะกับเครื่อง แมคอินทอช (พีซี ใช้ program group) มีสัญรูปเหมือนกล่องมีสีเหลือง อนึ่ง ภายใต้เมนู File จะมีคำสั่งให้สร้างโฟลเดอร์ใหม่ได้ คือ New folder เมื่อใช้ คำสั่งนี้แล้ว จะได้สัญลักษณ์ใหม่มาอีกอันหนึ่ง ข้างล่างจะมีคำว่า "untitled folder" ลากสัญรูปแฟ้มข้อมูลที่ต้องการให้อยู่กลุ่มเดียวกันไปรวมไว้ภายในโฟลเดอร์นี้ เวลาต้องการเรียกใช้ จะช่วยให้หาได้ง่ายและสะดวก ควรจะตั้งชื่อโฟลเดอร์ใหม่นี้เสียด้วย |
gui | (จียูไอ, กุย) ย่อมาจาก graphical user interface (แปลว่า การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู |
hot spot | จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช |
junta | (จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) ,สภาการเมือง,คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง, Syn. clique |
limited monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ |
magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่,รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ |
menu-driven system | ระบบทำงานด้วยเมนูหมายถึงระบบการทำงานของโปรแกรมที่ใช้เมนูเป็นหลัก กล่าวคือ มีรายการคำสั่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพให้เลือก ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจำคำสั่งเลย เพียงแต่ใช้เมาส์เลื่อนไปที่คำสั่งที่ต้องการแล้วกด คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ ระบบดังกล่าวนี้ทำให้การทำงานโดยใช้คอมพิวเตอร์นั้นง่ายขึ้นกว่าเดิมมาก |
mnemonic code | รหัสช่วยจำหมายถึง วิธีการเรียกชื่อย่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อช่วยให้นึกถึงชื่อเต็มของสิ่งนั้นได้ดี เช่น อาจจะกำหนดตัวอักษรตัวแรกของคำไว้ใช้เป็นข้อคำสั่ง เช่น การกดแป้น Alt + F + S เป็นรหัสช่วยจำแทนคำสั่งเรียกเมนู File และเลือกคำสั่ง Save ในการเขียนโปรแกรมบางทีก็ใช้วิธีการนี้ได้ เช่น ถ้าคำใดยาว ก็อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น STO แทน store เป็นต้น |
modifier keys | แป้นดัดแปรหมายถึง แป้นอักขระบางแป้นที่ไม่ใช้ตามลำพังตัวเอง หรือถ้าใช้ ก็จะไม่มีผลอย่างใดเลย เช่น แป้น Ctrl, Shift, Alt แต่เมื่อกำหนดใช้ร่วมกับแป้นอักขระอื่นแล้ว จะก่อให้เกิดเป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามได้ เช่น ถ้ากดแป้น ALT+F จะเป็นการเรียกเมนู File ในระบบวินโดว์ ส่วนเครื่องแมคอินทอชจะมีแป้น Option ที่ทำหน้าที่คล้ายแป้น ALT เช่น ถ้ากดแป้น Option+C ก็จะเป็นการสั่งคัดลอก (copy) |
option key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลแอปเปิล มีสัญลักษณ์ ? อยู่บนแป้น เป็นแป้นที่ต้องใช้ร่วมกับแป้นอื่น จะทำให้เกิดเป็นคำสั่งเฉพาะ รายการคำสั่งในเมนูต่าง ๆ ก็จะมีบอกไว้ว่า ถ้าใช้แป้นนี้กับแป้นใด จะหมายถึงคำสั่งให้ทำอะไร อย่างไรก็ตาม การกดแป้นนี้ตามลำพังจะไม่มีผลแต่อย่างใดเลย (คล้ายแป้น ALT ของพีซี) |
pop-up menu | รายการเลือกแบบผุดขึ้นหมายถึง รายการเลือกที่จะผุดขึ้น เมื่อกดเมาส์ที่ลูกศรหลังรายการนั้น มักจะเป็นรายการที่ให้เลือกในกรอบสนทนาอีกทีหนึ่ง ไม่ใช่รายการเลือกที่มาจากบาร์เมนู (menu bar) เมื่อเลือกรายการใดแล้ว ก็จะแสดงรายการที่เลือกนั้นให้เห็นอยู่ตลอด |
pull down menu | ในระบบวินโดว์ หมายถึง รายการเลือก (menu) ที่จะมองเห็นบนจอภาพ เมื่อกดเมาส์ที่บาร์เมนู ก็จะมีรายการคำสั่งต่าง ๆ มาให้เลือก เช่น ถ้ากดเมนู File จะมีรายการเลือก New Open Close Save Save as ให้เลือก เป็นต้น |
res edit | เรซเอดิท ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู |
start button | ปุ่มเริ่มต้นในระบบวินโดว์ 95 และ 98 ปุ่มเริ่มต้นจะอยู่บนแถบงาน (task bar) ที่ด้านล่างซ้ายสุดของจอภาพ จะมองเห็นได้ทันทีที่คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบวินโดว์เรียบร้อยแล้ว ถ้ากดเมาส์ที่ปุ่มนี้ จะมีเมนูให้เลือกสั่งงานได้หลายอย่างดู Start menu ประกอบ |
start menu | เมนูเริ่มแรกในระบบวินโดว์ 95 และ 98 เมนูเริ่มแรกนี้จะมองเห็นได้ทันทีที่กดเมาส์ที่ปุ่ม Start มีคำสั่งให้เลือกใช้ดังนี้ Programs, Documents, Settings, Find , Help, Run และ Shut downดู Start button ประกอบ |
tabulation | การตั้งระยะหมายถึง การตั้งระยะด้วยแป้น Tab โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) และโปรแกรมจัดพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (desktop publishing) มักจะมีเมนูให้กำหนดในเรื่องนี้ได้ เช่น ในโปรแกรม PageMaker |
seperator bar | เส้นคั่นแต่ละเมนูที่เห็นบนจอภาพในระบบวินโดว์ มักจะมีเส้นแบ่งหมวดหมู่ของรายการคำสั่งคั่นให้เป็นระยะ ๆ เพื่อให้มองหาได้ง่าย เช่น เมนู File ของโปรแกรม Microsoft Word จะแบ่งรายการคำสั่งเป็น New, Open, Close, Save, Save as, Version ส่วนหนึ่ง Page Setup, Print Preview, Print, ส่วนหนึ่ง บางทีก็มี Exit อยู่อีกส่วนหนึ่ง (แต่ละโปรแกรม อาจมีรายการคำสั่งแตกต่างกันไปบ้าง) แต่จะมีเส้นคั่น ให้เห็นชัดเสมอ |
talmud | (ทาล'มุด,แทล'มุด) n. คัมภีร์หรือธรรมนูญโบราณของยิว, See also: Talmudic adj. Talmudical adj. Talmudism n. |
tear-off menus | เมนูดึงออกได้หมายถึง เมนูที่เราสามารถดึงออกมาจากแถบเมนู (menu bar) มาวางไว้ที่ตำแหน่งใหม่ที่เราประสงค์ |